Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติ กันภัย-
dc.contributor.authorปิยรัตน์ วงศ์ทองเหลือ, 2511--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-19T07:24:07Z-
dc.date.available2006-07-19T07:24:07Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741703953-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/867-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อประเมินประสิทธิภาพแผนงานการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการใช้สื่อ รูปแบบสาร และเนื้อหาสาร เพื่อการรณรงค์สิ่งแวดล้อมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยวิจัยข้อมูลจากเอกสาร ตัวอย่างสื่อทุกชนิด และ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกลุ่มบุคคลผู้ให้ข้อมูลหลัก และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า แผนงานการรณรงค์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมทั้ง 3 โครงการ มีการปรับเปลี่ยนจากแผนเดิมที่วางไว้ในทุกโครงการ โดยส่วนใหญ่ การปรับแผนรณรงค์ยังไม่ใช่เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการรณรงค์ และ เพื่อให้การรณรงค์ได้รับผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น แต่เป็นผลจากการพบปัญหาอุปสรรคการใช้สื่อที่ได้กำหนดไว้ตามแผนหรือสถานการณ์แวดล้อมที่มาบังคับ โดยการปรับเปลี่ยนแผนโดยส่วนใหญ่ เป็นการยกเลิกการใช้สื่อที่ประสบปัญหา และนำวงเงินไปเพิ่มเติมการใช้สื่อในประเภทอื่น ดังนั้น จะเห็นได้ว่า แผนงานการรณรงค์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมโดยส่วนใหญ่ ยังคงมีประสิทธิภาพค่อนข้างน้อย การใช้สื่อรณรงค์ พบว่า ความถี่ ความครอบคลุม และ ความต่อเนื่องการ ใช้สื่อ ยังมีน้อย และ ไม่สม่ำเสมอ รวมถึง การเลือกใช้สื่อกับเป้าหมายของการสื่อสาร พบการใช้สื่อ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ มากกว่า การสร้างจิตสำนึก หรือ ความตระหนัก ซึ่งยังไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของการรณรงค์ รูปแบบสารที่ใช้ในการรณรงค์ พบการเลือกใช้ในลักษณะการเน้นย้ำมากที่สุด รองลงมาได้แก่ รูปแบบสารเร้าความกลัว สำหรับรูปแบบสารที่มีความซับซ้อน ไม่มีการเลือกใช้รูปแบบสารประเภทนี้ในการรณรงค์ทุกโครงการen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to evaluate the effectiveness of environmental campaign plannings by the Department ofIndustrial Works and the effectiveness of media use as well as message patterns. The research is qualitative. Information from documents and all kinds of media produced for the campaigns are complied for content analysis. In-depth interviews with involved personnels as key informants were conducted. Results of the research are as follows: 1. Three campaign plans were revised after launch. For some plans, the revision are not relevant to solving emergent problems of the campaigns. But, it was due to the difficulty of media use caused by a situation force. The adjustment of the plans involves the cancellation some of media use and the production of new kinds of media. It is likely that the plans are not effective. 2. For the media use, it was found that media frequency, coverage and continuity are at low level. Media use purpose is to construct among targets rather than building awareness.3. Campaign message format strategies are repetition and fear appeal, respectively. However, the complexity of message format was not found.en
dc.format.extent2917633 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.456-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสื่อมวลชนกับสิ่งแวดล้อมen
dc.titleประสิทธิภาพการใช้สื่อเพื่อรณรงค์สิ่งแวดล้อมของกรมโรงงานอุตสาหกรรมen
dc.title.alternativeThe effectiveness of media use in the environmental campaigns of the department of industrial worksen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKitti.G@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.456-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyarat.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.