Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/86
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์-
dc.contributor.authorตฏิลา จำปาวัลย์, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2006-05-27T05:24:12Z-
dc.date.available2006-05-27T05:24:12Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740316336-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/86-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาพัฒนาการความสามารถในการเกิดความเชื่อ และความปรารถนาของเด็กไทยอายุ 3-5 ปี และเปรียบเทียบความสามารถในการเข้าใจการเกิดความเชื่อ และความปรารถนาในเงื่อนไขที่แตกต่างกัน ในเด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียนเพศหญิงและเพศชายอายุ 3 ปี อายุ 4 ปี และอายุ 5 ปี กลุ่มอายุละ 60 คน รวมทั้งสิ้น 180 คน โดยให้เด็กตอบคำถามจากการเล่าเรื่องประกอบภาพในสามเงื่อนไขการทดสอบ คือความเชื่อที่มาจากการรับรู้ ความปรารถนาที่มาจากเจตคติ และความปรารถนาที่มาจากสรีรวิทยา สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างอายุและเงื่อนไขการทดสอบ ที่ส่งผลต่อความสามารถในการเข้าใจการเกิดความเชื่อและความปรารถนา จึงไม่อาจกล่าวสรุปได้ว่าความสามารถในการเข้าใจการเกิดความเชื่อ ที่มาจากการรับรู้ การเกิดความปรารถนาที่มาจากเจคคติ และการเกิดความปรารถนาที่มาจากสรีรวิทยา จะเพิ่มขึ้นตามระดับอายุ 2. เด็กอายุ 3 ปี อายุ 4 ปี และอายุ 5 ปี มีความสามารถในการเข้าใจการเกิดความเชื่อที่มาจากการรับรู้ ไม่แตกต่างจากการเกิดความปรารถนาที่มาจากเจตคติ แต่ความสามารถทั้งสองนี้มีความแตกต่างจาก การเข้าใจการเกิดความปรารถนาที่มาจากสรีรวิทยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยเด็กในแต่ละระดับอายุเข้าใจการเกิดความปรารถนา ที่มาจากสรีรวิทยาน้อยที่สุดen
dc.description.abstractalternativeTo investigate 1) the development of preschool childten's ability to understand the beliefs and desires of others, and 2) compared the development of this ability across three age cohorts. The subjects were 180 3, 4 and 5-year-old children (60 children per age cohort). The children were tested under three conditions : perception-generated beliefs, attitude-generated desires and physiology-generated desires. Statustical analyses were conducted with a Two-way ANOVA. The following significant results (p<.05) were found 1. No interactions were found between childen of the different age groups and their abilities to understand three mental state conditions : perception-generated beliefs, attitude-generated desires and physiology-generated desires. Thus, we can not conclude that older childten are seem better than younger childten in understanding perception-generated beliefs, attitude-generated desires and physiology-generated desires. 2. Children's ability to understand perception-generated beliefs did not differ from their ability to understand attitude-generated desires. However, these two abilities differed from the ability to understand physiology-generated desires. Physiology-generated desires was understood the least by all children.en
dc.format.extent3480904 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเชื่อen
dc.subjectความปรารถนาen
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนen
dc.subjectจิตวิทยาพัฒนาการen
dc.titleพัฒนาการของความสามารถในการเข้าใจการเกิดความเชื่อ และความปรารถนาในเด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียนen
dc.title.alternativeDevelopment of the ability to understand belift and desire formation in preschool childrenen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPenpilai.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tatila.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.