Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ-
dc.contributor.authorภาคภูมิ ปัณฑรางกูร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-06-08T07:41:52Z-
dc.date.available2009-06-08T07:41:52Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741300841-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8954-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาและวิเคราะห์ว่า โทษทางอาญาที่กำหนดไว้เป็นบทบังคับในกฎหมายเศรษฐกิจในปัจจุบัน มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโทษที่สมบูรณ์หรือไม่ ตลอดจนการบัญญัติโทษทางอาญา เพื่อกำกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น มีความเหมาะสมและเพียงพอหรือไม่เพียงใด จากการศึกษาพบว่า โทษทางอาญาที่กำหนดไว้เป็นบทบังคับในกฎหมายเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในปัจจุบันยังขาดความหลากหลาย โดยจำกัดอยู่กับวิธีการลงโทษเพียงไม่กี่ประเภท การกำหนดอัตราโทษยังขาดหลักเกณฑ์ที่สมบูรณ์ อีกทั้งการใช้บังคับโทษก็ยังประสบปัญหาต่างๆ อันเนื่องมาจากข้อจำกัดของโทษบางประการ ประกอบกับวิธีการบังคับโทษยังขาดความยืดหยุ่น ส่งผลให้การใช้โทษทางอาญากำกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ไม่ประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย แตกต่างจากการใช้โทษทางอาญากำกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจในต่างประเทศ ที่มีหลักเกณฑ์การกำหนดโทษที่หลากหลาย ตลอดจนมีวิธีการบังคับโทษที่ยืดหยุ่นกว่า ดังนั้นเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเศรษฐกิจ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย จึงควรปรับปรุงสภาพบังคับทางอาญาที่มีอยู่เดิม ให้มีความหลากหลายและทันสมัยยิ่งขึ้น โดยผ่อนคลายข้อจำกัดของโทษในบางประการ และสามารถนำรูปแบบและหลักเกณฑ์การกำหนดโทษ ที่ใช้บังคับอยู่ในต่างประเทศ เช่น การริบทรัพย์ทางแพ่ง การปรับโดยกำหนดตามวันและรายได้ การคุมประพฤตินิติบุคคล การเรียกค่าเสียหายเชิงลงโทษ มาเป็นแบบอย่าง โดยปรับใช้กับกฎหมายเศรษฐกิจของไทยตามความเหมาะสม ซึ่งจะทำให้การใช้โทษทางอาญากำกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ได้en
dc.description.abstractalternativeTo study and analyze the adequacy and the suitability of criminal sanctions existing under present economic laws. Also, this thesis conducts the evaluation of the use of penal sanction to regulate economic activities. Does penal legislation accomplish its task. It is discovered that existing criminal sanctions pertaining to economic law lacks of variation. They are limited in methods and rules governing their applications are ambiguous. Moreover, the enforcement of criminal sanction faces many problems due to the limitation of legal mechanism. These factors resulted in the failure of the use of criminal sanctions to serve their objectives. Unlike the criminal sanctions of Thailand, the criminal sanctions of other countries are more numerous and enforcement methods are rather more flexible. In order to develop more effective economic law and make it fully served its intended purposes, improvement in criminal sanctions is needed. More variety of and up-to-dated sanctions and processes should be introduced. Also, this should be augmented by relaxing the restriction of legal mechanism and adopting new forms of criminal sanction from other countries such as civil forfeiture, day-fine, corporate probation and punitive damage. These sanctions should be adapted in Thai economic law so that the law can achieve the aims of using criminal sanctions to regulate economic activities.en
dc.format.extent1720982 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมายกับเศรษฐกิจ -- ไทยen
dc.subjectกฎหมายอาญา -- ไทยen
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาen
dc.subjectการฟอกเงินen
dc.subjectไทย -- ภาวะเศรษฐกิจen
dc.titleการใช้โทษทางอาญากำกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจen
dc.title.alternativeCriminal sanctions for the regulation on economic activitiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorApirat.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakpoom.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.