Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorพรรณนิภา วงษ์มิตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-06-09T13:43:29Z-
dc.date.available2009-06-09T13:43:29Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746380958-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8980-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อศึกษาถึงการเป็นผู้นำความคิดเห็น ความน่าเชื่อถือ, พฤติกรรมการสื่อสารของพระสงฆ์, ปริมาณการรับสารของประชาชนจากพระสงฆ์ และการมีส่วนร่วมของประชาชนโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของความคิดเห็นของประชาชนต่อพระสงฆ์ 3. เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างการเป็นผู้นำความคิดเห็น ความน่าเชื่อถือ, พฤติกรรมการสื่อสารของพระสงฆ์, ปริมาณการรับสารของประชาชนจากพระสงฆ์ กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ 4. เพื่อทราบว่าปัจจัยตัวใดมีผลกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์มากที่สุด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ชาวบ้าน 165 คน ประชาชนที่มาเยี่ยมชมและมีส่วนร่วมในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ 400 คน เจ้าหน้าที่อาสาสมัครในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ 20 คน จำนวนทั้งสิ้น 585 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล กระทำโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าถดถอยพหุคูณ ซึ่งประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS+ ผลการวิจัยพบว่า 1. พระสงฆ์มีความเป็นผู้นำในระดับสูง มีความน่าเชื่อถือในระดับสูง มีพฤติกรรมการสื่อสารในระดับมาก ประชาชนมีปริมาณการรับสารจากพระสงฆ์ปานกลาง และประชาชนมีส่วนร่วมในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์น้อยที่สุด 2. ลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการเป็นผู้นำความคิดเห็น, ความน่าเชื่อถือ, พฤติกรรมการสื่อสารของพระสงฆ์, ปริมาณการรับสารของประชาชนจากพระสงฆ์ และการมีส่วนร่วมในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ไม่แตกต่างกัน 3. ความเป็นผู้นำความคิดเห็น ความน่าเชื่อถือ พฤติกรรมการสื่อสารของพระสงฆ์ ปริมาณการรับสารของประชาชนจากพระสงฆ์ มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ 4. ปริมาณการรับสารของประชาชนจากพระสงฆ์ มีผลสูงสุดต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ รองลงมาคือ ความน่าเชื่อถือของพระสงฆ์ พฤติกรรมการสื่อสารของพระสงฆ์และการเป็นผู้นำความคิดเห็นของพระสงฆ์ ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were : 1. to study opinion leadership, credibility, communication behavior of the monk, the amount of the message people received from the monk and the people's participation in Thammarukniveth Project. 2. to compare the difference in opinions of the people about the monk. 3. to investigate the relationship between opinion leadership, credibility, communication behavior of the monk, the amount of the message people received from the monk, and the people's participation in Thammarukniveth Project. 4. to find out the variables affected the public participation most. Questionnaires were used to collect the data from 585 samples which were composed of 165 residents, 400 visitors and 20 staff members and voluenteers, Frequency, percentage, mean, t-test, ANOVA Person's Product Moment Correlation Cofficient and Multiple Regression were used for the analysis of the data. SPSS+ program was employed for data precessing. The results of the research were as follows : 1. Opinion leadership, credibility and communicstion behavior of the monk was at the high level. The people received the message from the monk at the middle level but participated in Thammarukniveth Project at the lowest level. 2. Difference in demographic characteristics did not cause difference in opinions about opinion leadership, credibility, communication behavior of the monk, the amount the massage people received from the monk, and the people's participation in Thammarukniveth Project. 3. Opinion leadesship, credibility, communication behavior of the monk, the amount of the message people received from the monk correlated with the people's participation in Thammarukniveth Project. 4. The amount of the message people received from the monk, credibility, communication behavior of the monk and opinion leadership of the monk were variables influential to public participation respectively.en
dc.format.extent836585 bytes-
dc.format.extent823264 bytes-
dc.format.extent1151536 bytes-
dc.format.extent803964 bytes-
dc.format.extent1243387 bytes-
dc.format.extent917200 bytes-
dc.format.extent1732245 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสงฆ์กับการพัฒนาชุมชนen
dc.subjectโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์en
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen
dc.titleบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนากับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในโครงการธรรมรักษ์นิเวศน์en
dc.title.alternativeThe role of the monk in development and public participation in Thamarukniveth Projecten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParama.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punnipa_Wo_front.pdf816.98 kBAdobe PDFView/Open
Punnipa_Wo_ch1.pdf803.97 kBAdobe PDFView/Open
Punnipa_Wo_ch2.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Punnipa_Wo_ch3.pdf785.12 kBAdobe PDFView/Open
Punnipa_Wo_ch4.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Punnipa_Wo_ch5.pdf895.7 kBAdobe PDFView/Open
Punnipa_Wo_back.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.