Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยโชค จุลศิริวงศ์-
dc.contributor.authorธีระ อุตมะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกัมพูชา-
dc.date.accessioned2009-06-24T02:17:14Z-
dc.date.available2009-06-24T02:17:14Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741312164-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9110-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาการต่อสู้ทางการเมือง และความสัมพันธ์เชิงอำนาจภายในรัฐบาลผสมของกัมพูชา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993-1997 คือ ภายหลังจากที่กัมพูชาได้รับการช่วยเหลือจากสหประชาชาติในการจัดให้มีการเลือกตั้งและต่อมาก็มีการจัดตั้งรัฐบาลผสมขึ้น โดยวิทยานิพนธ์เรื่องนี้อาศัยกรอบความคิด เรื่อง การเมืองในระบบรัฐบาลมาศึกษาวิเคราะห์ ผลกระทบของการต่อสู้ทางด้านทางเมือง และความสัมพันธ์เชิงอำนาจภายในรัฐบาลผสมของกัมพูชา ที่มีต่อการกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงต่อไทย ผลการศึกษาพบว่า การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐบาลกัมพูชา ค.ศ. 1993 ดำเนินไปภายใต้บริบทของการต่อสู้ทางการเมืองและความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ระหว่างพรรคการเมืองใหญ่สองพรรค คือ พรรคฟุนซินเปค ที่มีเจ้ารณฤทธิ์เป็นหัวหน้าพรรคและเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 กับพรรคประชาชนกัมพูชา ที่มีนายฮุนเซน เป็นหัวหน้าพรรคและเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 พรรคการเมืองทั้งสองพรรคเคยเป็นศัตรูกันมาในอดีตและมีนโยบายที่แตกต่างกัน แต่ภายหลังจากที่มีการจัดตั้งรัฐบาลผสมแล้ว ก็ปรากฏความพยายามที่จะดำเนินการเจรจาต่อรองทางด้านการเมือง และประสานผลประโยชน์ส่วนตัว ผลประโยชน์ของพรรคการเมือง เพื่อรักษาความอยู่รอดและเสถียรภาพของรัฐบาลผสมเอาไว้ การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคง ที่เกิดมาจากแนวความคิดของผู้กำหนดการตัดสินใจของทั้งสองพรรคการเมือง ซึ่งฝ่ายหนึ่งมีความรู้สึกที่เป็นมิตรกับไทยและอีกฝ่ายหนึ่งเคยเป็นปฏิปักษ์ต่อไทยแต่เมื่อมีการเจรจา การต่อรองทางการเมืองที่เกิดขึ้นในรัฐบาลผสม ทำให้ทิศทางนโยบายด้านความมั่นคงของกัมพูชาต่อไทยมีลักษณะที่เป็นมิตรมากขึ้นกว่าในอดีตen
dc.description.abstractalternativeThis thesis studies political conflicts and power relations in the Kampuchean coalition government in the context of the country's security policy towards Thailand. The temporal focus of this study is from 1993 to 1997. Based on the analytical framework of governmental politics, this thesis finds that security policy of Kampuchea during the above period was shaped by political conflicts and power relations between two major coalition partners in the government : the Funcinpec Party led by the First Prime Minister Prince Norodom Ranariddh, and the Cambodian's People's Party (CPP) led by the Second Prime Minister Hun Sen. These two political parties had previously fought each other during the civil war, and actually applied different policies. However, when the Funcinpec and the CPP entered into a power-sharing agreement after the election sponsored by the United Nations in 1993, they had to compromise their differences and mediate both personal and party rivalries so as to maintain the overall stability of the coalition government. The direction of security policy of Kampuchea towards Thailand was also a result of the compromise and the sharing of political power between decision-makers of the Funcinpec and the CPP. The Funcipec was known to have a relatively friendly position toward Thailand while the CPP used to stand against Thailand over issues during various the civil war. But in general the compromise and the sharing of power between the Funcinpec and the CPP had improved security relations with Thailand.en
dc.format.extent1731539 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความมั่นคงแห่งชาติ -- กัมพูชาen
dc.subjectนโยบายต่างประเทศ -- กัมพูชาen
dc.subjectกัมพูชา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทยen
dc.subjectกัมพูชา -- การเมืองและการปกครองen
dc.subjectพรรคการเมือง -- กัมพูชาen
dc.titleนโยบายด้านความมั่นคงของกัมพูชาต่อไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบาย, ค.ศ. 1993-1997en
dc.title.alternativeKampuchean security policy towards Thailand : a study of policy making process, 1993-1997en
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChayachoke.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Theera.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.