Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ริจิรวนิช-
dc.contributor.authorสืบพงษ์ คงเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-05T07:57:54Z-
dc.date.available2009-08-05T07:57:54Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740303315-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษากระบวนการจัดจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงของคลังน้ำมันซึ่งเป็นศูนย์กลางการจัดจ่าย และขนส่งไปยังสถานีบริการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการปรับปรุงกระบวน และขั้นตอนการจัดจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิง การศึกษามุ่งเน้นในการลดจำนวนรถตกค้างที่ไม่สามารถออกวิ่งได้ เนื่องจากติดเวลาวิ่ง รวมไปถึงกำหนดเส้นทางการเดินรถและขั้นตอนการตรวจรับน้ำมัน ที่สถานีน้ำมันเพื่อลดระยะทางและเวลาในแต่ละรอบการขนส่ง แนวทางการปรับปรุงโดยการใช้เทคนิคทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการคือ การปรับปรุงการไหลเวียนของรถบรรทุก การศึกษาการทำงาน และโครงข่ายระยะทาง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิง ผลการปรับปรุงการจัดจ่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิง จากการศึกษาสามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. ปรับปรุงทางด้านการจัดจ่ายน้ำมันภายในคลังน้ำมัน โดยการเพิ่มช่องการให้บริการหน่วยงานท็อปเช็ค และการไหลเวียนของรถบรรทุกน้ำมัน สามารถลดจำนวนรถตกค้างของบริษัทฯ และรถลูกค้าในการจัดจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงได้ถึง 62.40% และ 52.60% ตามลำดับ 2. ปรับปรุงทางด้านการจัดเส้นทางเดินรถขนส่ง โดยใช้เทคนิควิเคราะห์โครงข่ายระยะทาง (โปรมแกรมเชิงเส้นเลขจำนวนเต็ม วิธีการดิจิกส์ทรา : จำนวน K ลำดับเส้นทาง) รวมกับวิธีฮิวริสติกส์ สามารถลดระยะทางโดยรวมระหว่างคลังน้ำมันไปยังสถานีบริการน้ำมันได้ถึง 324 กิโลเมตร หรือ 25.55% และยังสามารถลดเวลาการขนส่งเฉลี่ยโดยรวมระหว่างน้ำมันไปยังสถานีบริการน้ำมันได้ถึง 351.12 นาที หรือ 16.56% 3. ปรับปรุงทางด้านการตรวจรับน้ำมันที่สถานีบริการน้ำมัน โดยใช้ "เทคนิคการตั้งคำถาม" เพื่อปรับปรุงการทำงานสามารถลดเวลาในการตรวจรับน้ำมัน ที่สถานีน้ำมันได้ถึง 19.02 นาที หรือ 24.66%en
dc.description.abstractalternativeThe study for petrol distribution processes of an oil depot which the center of distribution and transportation to service stations in Bangkok area and boundary. Aims to study improve the petrol distribution system. This study emphasizes to reduce the number of delayed trucks during allowable traveling hour and improve vehicle routing assignments, oil checking process at service stations and transportation time. By using industrial engineer technique such as industrial plant design, work study and distance network, the efficiency of petrol distribution system can be improved significantly. The results from the study can be summarized as follows. 1. Improve the petrol distribution process by increasing the number of volumetric proving unit and flow of trucks. This method will reduce the numbers of company's and customers delayed trucks during allowable traveling hour by 62.40% and 52.60% respectively. 2. Improve routing network of transportation by using network analysis technique (Integer linear programming, Dijikstra algorithm : Double-sweep method) including heuristic method. This improvement can reduce the distance between the oil depot and service stations by 324 KM or 25.55% and reduce average delivery time by 351.12 minutes or 16.56%. 3. Improve oil checking process at service station by using "6W-1H technique". This improvement can reduce time for oil checking process at service station by 19.02 minutes or 24.66%.en
dc.format.extent2673174 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำมันเชื้อเพลิงen
dc.subjectน้ำมันเชื้อเพลิง -- การขนส่งen
dc.titleการจัดจ่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงของบริษัทน้ำมันเชื้อเพลิงen
dc.title.alternativePetrol distribution for a petrol companyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVanchai.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suebpong.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.