Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorไชโย นิธิอุบัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-06T10:50:00Z-
dc.date.available2009-08-06T10:50:00Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741736673-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9745-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบลักษณะของการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองต่อครอบครัวและสังคมของกลุ่มชายรักชายที่มีความแตกต่างกันด้านอายุ อาชีพ แบบการสื่อสารในครอบครัว วิธีการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองและผล งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการวิจัยเอกสารจำนวน 35 ราย และการสัมภาษณ์เจาะลึกจำนวน 20 ราย ผลการวิจัยพบว่า ครอบครัวที่มีการสื่อสารแบบเปิดและแบบปล่อยจะเอื้อต่อกลุ่มชายรักชายส่วนใหญ่ให้มีการเปิดเผยตนเองได้ง่ายกว่าครอบครัวที่มีการสื่อสารแบบปิด โดยทำให้กลุ่มชายรักชายมีอายุของการเปิดเผยตนเองได้ง่ายตั้งแต่ในวัยเด็ก มีโอกาสเลือกอาชีพที่สอดคล้องกับนิสัยและเป็นอาชีพที่ง่ายต่อการเปิดเผยตนเอง และสามารถใช้วิธีการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองได้อย่างอิสระทั้งทางตรงและทางอ้อมมากกว่า ส่วนการที่ครอบครัวและสังคมจะยอมรับได้นั้นก็มาจากวิธีการสื่อสาร เพื่อการเปิดเผยตนเองทางอ้อมให้สอดคล้องกับบรรทัดฐานของครอบครัวและสังคม ส่วนวิธีการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองในทางตรงก็จะเกิดขึ้นในภายหลัง และพบว่าไม่มีวิธีการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองวิธีใดจะเหมาะสมที่สุด แต่ส่วนใหญ่แล้วกลุ่มตัวอย่างจะเลือกใช้วิธีการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองทางอ้อม ด้วยอวัจนภาษา ส่วนวิธีการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองทางตรงด้วยวัจนภาษานั้นอยู่ที่ความเหมาะสมและความสำคัญของบุคคลที่กลุ่มตัวอย่างมีปฏิสัมพันธ์ด้วยen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study and compare the communication characteristics of male homosexuals who has different on age, occupation, family communications, communication method on self-disclosure and communication results. The content of this quality research are documentation research and depth interview. The results of the study were as follows: The male homosexuals are easily to have self-disclosure with an open-minded family during childhood, they have an opportunity to select the suitable occupation which rely on their characteristics. They have a freedom to conduct both direct and indirect communications on self-disclosure. The indirect communication is the normal method to let their family and their social to accept their behavior then the direct communication is followed due to family and social norms. From this research found that no suitable method on self disclosure. Most of them used the in direct method and body language to express for the direct self disclosure, it is depend on the person whom the group has a closed relationship.en
dc.format.extent4668739 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1269-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารในครอบครัวen
dc.subjectรักร่วมเพศชายen
dc.subjectการเปิดเผยตนเองen
dc.titleการสื่อสารเพื่อการเปิดเผยตนเองของกลุ่มชายรักชายen
dc.title.alternativeCommunication for self disclosure of male homosexualsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPatchanee.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1269-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaiyo.pdf4.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.