Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.authorทิพรชัย ปราการพิลาศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-07T03:41:55Z-
dc.date.available2009-08-07T03:41:55Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746398318-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9775-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและผลิตภัณฑ์อีเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยเป็นอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ถูกผลิตมักจะถูกออกแบบมาจากบริษัทแม่หรือไม่ก็มีการลอกเลียนแบบมา แบบที่ใช้ในการผลิตที่ได้มาจากฝ่ายออกแบบมักจะไม่สอดคล้องกับความสามารถในการผลิต ดังนั้นทำให้การผลิตจึงมีปัญหามาก ต้องฝืนที่จะผลิตและจะประสบปัญหาของเสียมีจำนวนมาก ดังนั้นการวิเคราะห์ความสามารถในการผลิตจะช่วยลดปัญหาเหล่านี้ได้ การลดจุดบกพร่องในการประกอบอุปกรณ์อีเล็คทรอนิกส์ลงบนแผ่นลายวงจรพิมพ์โดยการวิเคราะห์ความสามารถในการผลิต โดยการวิเคราะห์จุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์รุ่น PCBA1 โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลของจุดบกพร่อง ซึ่งพบว่ามีปัญหาจุดบกพร่องหลักอยู่ 4 ชนิด คือ Short, Unsolder, Reverse และ Floating จากนั้นจะทำการวิเคราะห์จุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์เนื่องจากข้อกำหนดของแบบเทียบกับความสามารถในการผลิต ทั้งนี้การวิเคราะห์จะยึดตามหลักของการจัดการ 3 M ได้แก่ คน (Man), วิธีการ (Method) และเครื่องจักร (Machine) ซึ่งจะพบว่าปัญหาส่วนใหญ่จะเกิดจากการออกแบบที่ไม่เหมาะสมกับความสามารถในการผลิต จากนั้นทำการกำหนดแนวทางในการปรับปรุงโดยไม่เน้นที่แก้ที่ต้นเหตุของปัญหาซึ่งมีอยู่ 2 วิธี คือ การเปลี่ยนแบบ และการเปลี่ยนวิธีการทำงาน ซึ่งทำให้เปอร์เซ็นต์จุดบกพร่องลดลงอย่างมาก ซึ่งได้แก่ ปัญหาเรื่อง Unsolder ลดลงจาก 273.0 เปอร์เซ็นต์เป็น 1.41 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาเรื่อง Short ลดลงจาก 213.5 เปอร์เซ็นต์เป็น 2.54 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาเรื่อง Floating ลดลงจาก 120.5 เปอร์เซ็นต์เป็น 0 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาเรื่อง Reverse ลดลงจาก 20.5 เปอร์เซ็นต์เป็น 0 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาเรื่อง ไม่สามารถทำได้ ลดลงจาก 200 เปอร์เซ็นต์เป็น 0 เปอร์เซ็นต์en
dc.description.abstractalternativeElectrical appliance and electronic industry is the continuing expansion industry but the design of product most come from parent company or the duplicated one. Design input is not relevant to the existing manufacturing capability so many production problems and defects are resulted. The analysis of mauafacturing capability is proposed to solve this problem. Defects reduction of printed circuit board assembly based on the analysis of manafacturing capability are developed. By analysing the causes of PCBA1 model defects, 4 major defects, namely Short, Unsolder, Reverse and Floating, are found. By analysing the manufacturing capability based on 3 M management Man Method and Machine on the defects, their causes are from design that is not suitable for manufacturing capability. Then 2 guidelines for improvement i.e. Design Change and Method Change are proposed to reduce the defects. The result from the proposed guidelines are as follows: Unsolder Problem reduce from 273.0 to 1.41% ; Short Problem reduce from 213.5 to 2.54% ; Floating Problem reduce from 120.5 to 0% ; Reverse Problem reduce from 20.5 to 0% ; Can't do Problem reduce from 200.0 to 0%.en
dc.format.extent1105065 bytes-
dc.format.extent885793 bytes-
dc.format.extent1199075 bytes-
dc.format.extent2096644 bytes-
dc.format.extent3185403 bytes-
dc.format.extent1648161 bytes-
dc.format.extent832470 bytes-
dc.format.extent738172 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการควบคุมการผลิตen
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้าen
dc.subjectแผ่นลายวงจรพิมพ์en
dc.titleการลดจุดบกพร่องของการประกอบแผ่นลายวงจรพิมพ์ โดยการวิเคราะห์ความสามารถในการผลิตen
dc.title.alternativeDefects reduction of a printed circuit board assembly based on analysis of manufacturing capabilityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSirichan.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tipornchai_Pr_front.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_ch1.pdf865.03 kBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_ch2.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_ch3.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_ch4.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_ch5.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_ch6.pdf812.96 kBAdobe PDFView/Open
Tipornchai_Pr_back.pdf720.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.