Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9871
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประภาพักตร์ ศิลปโชติ | - |
dc.contributor.advisor | เฉลิมชาติ วรรณพฤกษ์ | - |
dc.contributor.author | พิมลพันธุ์ ชินประเสริฐสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-10T07:51:29Z | - |
dc.date.available | 2009-08-10T07:51:29Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743347194 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9871 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงประสิทธิผลและความปลอดภัยของการใช้ยากลุ่ม statin ร่วมกับยากลุ่ม fibrate ในผู้ป่วยที่มีระดับไขมันในเลือดสูง โดยประสิทธิผลศึกษาถึงผลของการลดระดับไขมันในเลือด และจำนวนผู้ป่วยที่มีระดับไขมันเข้าเป้าหมายของการรักษาตามเกณฑ์ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ส่วนความปลอดภัยจะศึกษาถึงอัตราการเกิดการไม่พึงประสงค์ที่มีต่อความผิดปกติของกล้ามเนื้อ และการทำงานของตับ รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา โดยศึกษาข้อมูล ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง จากการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการใช้ยากลุ่ม statin ร่วมกับยากลุ่ม fibrate จำนวน 105 ราย พบว่าก่อนที่กลุ่มตัวอย่างดังกล่าวจะได้รับการสั่งใช้ยาร่วมกันนี้ ผู้ป่วยในกลุ่มตัวอย่างมีการได้รับการสั่งใช้ยากลุ่ม statin หรือยากลุ่ม fibrate มาก่อน และมีผู้ป่วยส่วนน้อยที่ได้รับการสั่งใช้ยากลุ่ม statin ร่วมกับกลุ่ม fibrate ตั้งแต่แรก 1. ในกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการใช้ยากลุ่ม statin ก่อนจำนวน 40 ราย (ร้อยละ 38.09) พบว่ายากลุ่ม statin สามารถลดระดับ TC ได้ร้อยละ 7.46+-27.66 (p<0.05) และลดระดับ LDL-C ได้ร้อยละ 16.74+-37.29 (p<0.05) ระหว่างได้รับร่วมกับยากลุ่ม fibrate พบว่าระดับ TC ลดลงร้อยละ 1.59+-27.99 (p<0.2), LDL-C ลดลงร้อยละ 2.46+-58.8 (p<0.5), TG ลดลงร้อยละ 30.49+-42.78 (p<0.005) และระดับ HDL-C เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.35+-24.21 (p<0.01) 2. ในกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการใช้ยากลุ่ม fibrate ก่อนจำนวน 49 ราย (ร้อยละ 46.67) พบว่ายากลุ่ม fibrate สามารถลดระดับ TG ได้ร้อยละ 18.32+-40.99 (p<0.005) และเพิ่มระดับ HDL-C ได้ร้อยละ 9.24+-21.41 (p<0.025) ระหว่างได้รับร่วมกับยากลุ่ม statin พบว่าระดับ TC ลดลงร้อยละ 13.06+-20.87 (p<0.001), ระดับ LDL-C ลดลงร้อยละ 21.52+-21.66 (p<0.001), ระดับ TG ลดลงร้อยละ 0.91+-44.31 และเพิ่มระดับ HDL-C ร้อยละ 2.75+-17.45 อย่างไม่มีนัยสำคัญ 3. ในกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการใช้ยากลุ่ม statin ร่วมกับกลุ่ม fibrate ตั้งแต่แรกจำนวน 16 ราย (ร้อยละ 15.24) พบว่าระดับ TC ลดลงร้อยละ 17.27+-15.84 (p<0.005), ระดับ LDL-C ลดลงร้อยละ 25.24+-18.28 (p<0.025), ระดับ TG ลดลงร้อยละ 41.56+-34.30 (p<0.001) และระดับ HDL-C เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.24+-52.84 (p<0.1) จากการศึกษาพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยที่มีระดับ LDL-C เข้าเป้าหมาย 1 ใน 3 และมีระดับ TG เข้าเป้าหมาย 1 ใน 2 ในด้านความปลอดภัยไม่พบผู้ป่วยที่เกิด Myopathy และ Rhabdomyolysis และพบผู้ป่วยเพียง 1 ราย (ร้อยละ 0.95) ที่มีระดับ ALT>3 เท่าของค่าสูงสุดของค่าปกติ โดยไม่พบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มที่ได้รับยากลุ่ม statin หรือ fibrate เดี่ยวๆ จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้ยากลุ่ม statin ร่วมกับกลุ่ม fibrate มีประสิทธิผลดีและมีความปลอดภัยในการใช้ แต่อย่างไรก็ตามการใช้ยาทั้ง 2 กลุ่มดังกล่าวร่วมกันควรใช้ด้วยความระมัดระวัง และมีการติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อที่ผู้ป่วยจะได้ถึงเป้าหมายของการรักษาด้วยความปลอดภัย | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this thesis is to study the efficacy and safety of statin-fibrate combination in hyperlipidemia patients. The efficacy is studied by observing the reduction of lipids levels in the blood and the numbers of hyperlipidemia patients who have reached the guidelines which set up by the Royal College of Physician of Thailand. While safety of the drugs was studied by monitoring the musculoskeletal and hepatic adverse drug reactions. This thesis is a cross-sectional descriptive study. The result of this study was obtained from the total sample of 105 patients who were treated with statin-fibrate combination therapy. Before receiving the combination treatments the patients were either received statin or fibrate as a monotherapy and some were already received a combination of statin-fibrate therapy. 1. In 40 patients (38.09%) dosed with statin alone, TC decreased 7.46+-27.66% (p<0.05) and LDL-C decreased 16.74+-37.29% (p<0.05). During the combination therapy with fibrate, TC decreased 1.59+-27.99% (p<0.2), LDL-C decreased 2.46+-58.8% (p<0.5), TG decreased 30.49+-42.78% (p<0.005) and HDL-C increased 15.35+-24.21% (p<0.01). 2. In 49 patients (46.67%) dosed with fibrate alone, TG decreased 18.32+-40.99% (p<0.005) and HDL-C increased 9.24+-21.41% (p<0.025). During the combination therapy with statin, TC decreased 13.06+-20.87% (p<0.001), TG decreased 0.91+-44.31% (p<0.4), LDL-C decreased 21.52+-21.66% (p<0.001) and HDL-C increased 2.75+-17.45% (NS). 3. In 16 patients (15.24%) dosed with a combination of statin-fibrate therapy, TC decreased 17.27+-15.84% (p<0.005), LDL-C decreased 25.24+-18.28% (p<0.025), TG decreased 41.56+-34.30% (p<0.001) and HDL-C increased 51.24+-52.84% (p<0.1). The results from the study indicated that the patients has reached the LDL-C target goal at the proportion of 1 by 3 and the TG target goal at the proportion of 1 by 2. The safety, on the other hand, shows that all of the patients has neither myopathy nor rhabdomyolysis. Only 1 patient (0.95%) has ALT levels > 3 x upper limits of normal. No significant difference has been observed between those who have been treated with fibrate or statin monotherapy and those with alanine aminotransferase or creatine kinase. The results are the hyperlipidemia patients treated with statin-fibrate combination have received effective treatments and are safe enough from the therapy. Nevertheless, the patients should be watched closely with vigilant monitoring in order to achieve the target goals of hyperlipidemia therapy with safety. | en |
dc.format.extent | 1174224 bytes | - |
dc.format.extent | 1134894 bytes | - |
dc.format.extent | 1692059 bytes | - |
dc.format.extent | 1101193 bytes | - |
dc.format.extent | 2906648 bytes | - |
dc.format.extent | 1001050 bytes | - |
dc.format.extent | 2411547 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สแตติน | en |
dc.subject | ไฟเบรท | en |
dc.subject | ภาวะไขมีนในเลือดสูง | en |
dc.title | ประสิทธิผลและความปลอดภัยของการใช้สแตติน-ไฟเบรทร่วมกันในผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง | en |
dc.title.alternative | Efficacy and safety of statin-fibrate conbination in hyperlipidemia patients | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เภสัชกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Prapapuck.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Pharm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pimonpan_Ch_front.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pimonpan_Ch_ch1.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pimonpan_Ch_ch2.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pimonpan_Ch_ch3.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pimonpan_Ch_ch4.pdf | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pimonpan_Ch_ch5.pdf | 977.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pimonpan_Ch_back.pdf | 2.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.