Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ไวยาพัฒนกร-
dc.contributor.authorมนต์ทิพย์ภา อินทราวุธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-13T08:25:02Z-
dc.date.available2009-08-13T08:25:02Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743329277-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10018-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractปัญหาอันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ใช้บริการในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบรังผึ้งในปัจจุบันและความไม่เพียงพอของทรัพยากรความถี่ที่มีอยู่จำกัดจึงจำเป็นต้องมีการแก้ไข สายอากาศเก่งคือ คำตอบหนึ่งของปัญหาเนื่องจากการใช้สายอากาศเก่งที่สถานีฐานของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบรังผึ้งสามารถเพิ่มการใช้ความถี่ซ้ำ และลดขนาดของเซลล์ในระบบลงได้โดยไม่มีผลกระทบเนื่องจากสัญญาณรบกวนจากเซลล์ที่ใช้ความถี่ซ้ำกัน วิทยานิพนธ์นี้จึงได้ศึกษาสมรรถนะของสายอากาศเก่งโดยใช้ตัวจำลองแบบเพื่อสั่งสมองค์ความรู้สำหรับการพัฒนาระบบให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ระบบของสายอากาศเก่งประกอบด้วยส่วนหลัก 2 ส่วน คือ สายอากาศและระบบประมวลผลสัญญาณในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้สายอากาศไมโครสตริปแถวลำดับเชิงเส้น 8 องค์ประกอบ ส่วนระบบประมวลผลใช้ขั้นตอนวิธีในการก่อรูปลำคลื่นแบบค่ากำลังสองเฉลี่ยน้อยที่สุด และแบบ Howells-Applebaum การทดสอบสมรรถนะของตัวจำลองแบบทำ โดยการสร้างสถานการณ์ที่เกิดสัญญาณรบกวนขึ้นแล้วจึงเก็บข้อมูลทั้ง 8 องค์ประกอบของสายอากาศแถวลำดับไปประมวลผลสัญญาณด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อกำหนดน้ำหนักที่เหมาะสมให้กับสัญญาณทั้ง 8 องค์ประกอบ ผลตอบที่สนใจ คือ แบบรูปการแผ่พลังงานในทิศทางของสัญญาณที่ต้องการและสัญญาณรบกวน จากการทดสอบสมรรถนะตัวจำลองแบบของสายอากาศเก่งเทียบกับทางทฤษฎี พบว่าความสามารถของสายอากาศเก่งขึ้นกับส่วนประกอบหลักทั้งสอง และผลของมิวชวลคัปปลิงที่เกิดขึ้นกระทบต่อความสามารถในการปรับเปลี่ยนลำคลื่นของสายอากาศ หรืออีกนัยหนึ่งคือ ความสามารถในการลดผลกระทบเนื่องจากสัญญาณรบกวน แต่ปัญหานี้บรรเทาลงได้ด้วยวิธีชดเชยผลมิวชวลคัปปลิงที่ผู้วิจัยได้เสนอไว้ในวิทยานิพนธ์ สำหรับขั้นตอนวิธีในการก่อรูปลำคลื่นพบว่าขั้นตอนวิธีแบบ Howells-Applebaum มีประสิทธิภาพในการก่อรูปลำคลื่นไปในทิศทางที่ต้องการสูงกว่าขั้นตอนวิธีแบบค่ากำลังสองเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิภาพสูงสุดของสายอากาศแถวลำดับชนิดหนึ่งๆ เกิดขึ้นเมื่อใช้ขั้นตอนวิธีในการก่อรูปลำคลื่นแบบ Howells-Applebaum ร่วมกับการชดเชยผลเนื่องจากปรากฏการณ์มิวชวลคัปปลิงของสายอากาศen
dc.description.abstractalternativeThe present increasing trend of the number of users of the mobile telephone system causes concern on the insufficiency of the limited frequency spectrum resource. A smart antenna is a solution to this problem. Using the smart antenna at the base station results in greater frequency reusability and decrease in the cell's size without detrimental effects due to co-channel interference. Performances of the smart antenna are studied by using a simulator in order to accrue knowledge for future development of better systems. The smart antenna consists of two principal parts: the antenna and the signal processing unit. For the antenna, the microstrip linear array of eight elements is used. For signal processing, the LMS and the Howells-Applebaum algorithms are employed. In testing performances of the simulator, data from all 8 elements are collected amidst interference and further processed for obtaining the optimum weights, then applied to control the signal magnitude and phase in each element. Results are presented in the form of radiation pattern in the desired and undesired directions. It was found that the capability of the smart antenna depends upon the two principal parts: the antenna and the signal processing unit. The mutual coupling effects on the array antenna has significantly degraded the capability in beam steering. This is alleviated by the method of mutual coupling compensation proposed in this thesis. In the signal processing aspect, the Howells-Applebaum algorithm is more efficient in beam steering to the desired directions than the LMS algorithm. Finally the smart antenna can reach its best when the Howells-Applebaum is used together with the mutual coupling compensation method.en
dc.format.extent1577007 bytes-
dc.format.extent899705 bytes-
dc.format.extent1633108 bytes-
dc.format.extent2010735 bytes-
dc.format.extent2615215 bytes-
dc.format.extent819996 bytes-
dc.format.extent1517369 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสายอากาศen
dc.subjectระบบสื่อสารไร้สายen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.subjectระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.titleการศึกษาสมรรถนะของสายอากาศเก่งโดยใช้ตัวจำลองแบบen
dc.title.alternativePerformance study of a smart antenna using a simulatoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChatchai.W@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Monthippa_In_front.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Monthippa_In_ch1.pdf878.62 kBAdobe PDFView/Open
Monthippa_In_ch2.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Monthippa_In_ch3.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Monthippa_In_ch4.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Monthippa_In_ch5.pdf800.78 kBAdobe PDFView/Open
Monthippa_In_back.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.