Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงแก้ว ปุณยกนก-
dc.contributor.authorวิภารัตน์ ศรีบุตรตา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-14T09:17:35Z-
dc.date.available2009-08-14T09:17:35Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743319808-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10098-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคะแนนจุดตัดที่ตัดสินโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีสารสนเทศประกอบในการตัดสินและความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินคะแนนจุดตัดของผู้เชี่ยวชาญ กับคะแนนความน่าจะเป็นในการตอบข้อสอบได้ถูกต้องของผู้เรียน และเปรียบเทียบความสอดคล้องในการตัดสินคะแนนจุดตัดระหว่างวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดลสกี และวิธีของอิมพาราและเพลค กลุ่มตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญได้แก่ ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเลย ปีการศึกษา 2541 จำนวน 15 คน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2541 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเลย จำนวน 384 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนจุดตัดของแบบสอบที่ตัดสินด้วยวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดลสกี วิธีของอิมพาราและเพลคครั้งที่ 1 เท่ากับ 11.484, 10.326 และ 13.60 ตามลำดับ สำหรับครั้งที่ 2 เท่ากับ 12.126, 10.517 และ 15.00 ตามลำดับ 2. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินคะแนนจุดตัดของผู้เชี่ยวชาญที่ตัดสินด้วยวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดสสกีและวิธีของอิมพาราและเพลคกับคะแนนความน่าจะเป็นในการตอบข้อสอบได้ถูกต้องของผู้เรียนครั้งที่ 1 เท่ากับ 0.355, 0.358 และ 0.421 สำหรับครั้งที่ 2 เท่ากับ 0.544, 0.247 และ 0.477 ตามลำดับ โดยที่ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างวิธีของแองกอฟและวิธีของอิมพาราและเพลคของครั้งที่ 2 กับคะแนนความน่าจะเป็นในการตอบข้อสอบได้ถูกต้องของผู้เรียน มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินคะแนนจุดตัดของผู้เชี่ยวชาญที่ตัดสินด้วยวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดสสกีและวิธีของอิมพาราและเพลคกับคะแนนความน่าจะเป็นในการตอบข้อสอบได้ถูกต้องของผู้เรียนที่ตัดสินด้วยทฤษฎีการตัดสินใจครั้งที่ 1 เท่ากับ 0.555, 0.248 และ 0.632 ตามลำดับ สำหรับครั้งที่ 2 เท่ากับ 0.506, 0.289 และ 0.460 ตามลำดับ โดยที่ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างวิธีของแองกอฟครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 และวิธีของอิมพาราและเพลคครั้งที่ 1 กับคะแนนความน่าจะเป็นในการตอบข้อสอบได้ถูกต้องของผู้เรียนที่ตัดสินถูกต้องตามทฤษฎีการตัดสินใจ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ค่าความสอดคล้องในการตัดสินคะแนนจุดตัดของผู้เชี่ยวชาญเชิงสัมพันธ์ด้วยวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดลสกี และวิธีของอิมพาราและเพลคครั้งที่ 1 เท่ากับ 0.7418, 0.3275 และ 0.337 ตามลำดับ สำหรับครั้งที่ 2 เท่ากับ 0.6617, 0.3281 และ 0.384 ตามลำดับ จากการทดสอบพบว่าค่าความสอดคล้องในการตัดสินไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ค่าความสอดคล้องในการตัดสินคะแนนจุดตัดของผู้เชี่ยวชาญเชิงสัมบูรณ์ระหว่างวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดลสกี และวิธีของอิมพาราและเพลครั้งที่ 1 เท่ากับ 0.5688, 0.2759 และ 0.329 ตามลำดับ สำหรับครั้งที่ 2 เท่ากับ 0.4593, 0.2700 และ 0.348 ตามลำดับ จากการทดสอบพบว่าค่าความสอดคล้องในการตัดสินไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study the cut-off scores by experts with test information provided and the correlation between the item cut-off scores judged by the experts and the probability scores of the examinees to answer the item correctly and to compare the indices of consistency in setting the cut-off scores among Angoff's Method, Nedelsky's Method and Impara and Plake's Method. The sample of experts consisted of 15 mathematics' teachers who have been teaching in Prathom Suksa six in primary schools Loei and the sample of examinees consisted of 384 students in prathom suksa six in primary schools in Loei. The results of study were : 1. The cut-off scores from Angoff's Method, Nedelsky's Method and Impara and Plake's Method in round 1 were 11.484, 10.326 and 13.60 respectively, and in round 2 were 12.126, 10.517 and 15.00 respectively. 2. The correlations between the item cut-off scores judged by the experts using Angoff's Method, Nedelsky's Method and Impara and Plake's Method in round 1 and the probability scores of the examinees to answer the item correctly were 0.355, 0.358 and 0.421 respectively, and in round 2 were 0.544, 0.247 and 0.477 respectively, were significantly different at .05 level for Angoff's Method and Impara and Plake's Method in round 2. 3. The correlations between the cut-off scores of experts from Angoff's Method, Nedelsky's Method and Impara and Plake's Method in round 1 and the probability scores of the examinees to answer the item correctly judged by Decision Theoretic Procedure were 0.555, 0.248 and 0.632 respectively and in round 2 were 0.506, 0.289 and 0.460 respectively, were significantly different at .05 level for Angoff's Method in round 1 and round 2 and Impara and Plake's Method in round 2. 4. The indices of consistency in setting the cut-off scores among Angoff's Method. Nedelsky's Method and Impara and Plake's Method for relative decision in round 1 were 0.7418, 0.3275 and 0.337 respectively, and in round 2 were 0.6617, 0.3281 and 0.384 respectively, were not significantly different at .05 level. 5. The indices of consistency in setting the cut-off scores among Angoff's Method, Nedelsky's Method and Impara and Plake's Method for absolute decision in round 1 were 0.5688, 0.2759 and 0.329 respectively, and in round 2 were 0.4593, 0.2700 and 0.384 respectively, were not significantly different at .05 levelen
dc.format.extent826921 bytes-
dc.format.extent1060913 bytes-
dc.format.extent1277849 bytes-
dc.format.extent1268327 bytes-
dc.format.extent1074064 bytes-
dc.format.extent833908 bytes-
dc.format.extent1018721 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทฤษฎีการอ้างอิงสรุปen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectคะแนนจุดตัดen
dc.titleการเปรียบเทียบความสอดคล้องในการตัดสินคะแนนจุดตัด ระหว่างวิธีของแองกอฟ วิธีของนีเดลสกี และวิธีของอิมพาราและเพลคen
dc.title.alternativeA comparison of consistency index for judging the cut-off score among Angoff's method, Nedelsky's method and Impara and Plake's methoden
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPuangkaew.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiparat_Sr_Front.pdf807.54 kBAdobe PDFView/Open
Wiparat_Sr_Ch1.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Wiparat_Sr_Ch2.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Wiparat_Sr_Ch3.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Wiparat_Sr_Ch4.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Wiparat_Sr_Ch5.pdf814.36 kBAdobe PDFView/Open
Wiparat_Sr_Back.pdf994.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.