Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรีช์ โพธิแก้ว-
dc.contributor.authorนุชนาฏ ศิริพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-21T04:18:07Z-
dc.date.available2009-08-21T04:18:07Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746386042-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10344-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ส ต่อการเพิ่มสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพนักงานบริษัท ที ที แอล อตุสาหกรรมจำกัด (มหาชน) โดยมีสมมติฐานการวิจัยคือ (1) หลังการทดลอง พนักงานที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ส จะมีสัมพันธ์ภาพระหว่างบุคคลสูงกว่า ก่อนเข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม (2) หลังการทดลอง พนักงานที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ส จะมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลสูงกว่าพนักงานที่ ไม่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (Pretest posttest control group design) กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัท ที ที แอล อุตสาหกรรมจำกัด (มหาชน) จำนวน 16 คน ที่มีคะแนนสัมพันธภาพระหว่างบุคคลต่ำกว่า -1 SD กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 8 คน กลุ่มควบคุม 8 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ส วันละ 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน รวมทั้งสิ้น 24 ชั่วโมง โดยผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบวัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งวางรากฐานอยู่ในมาตรวัดของ Carkhuff วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า (1)หลังการทดลอง พนักงานที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยา แบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ จะมีคะแนนสัมพันธภาพระหว่างบุคคลสูงกว่า ก่อนเข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (2)หลังการทดลอง พนักงานที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวโรเจอร์จะมีคะแนนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล สูงกว่าพนักงานที่ไม่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study the effects of Rogerian group counseling on increasing interpersonal relationships of employees. The hypotheses were that (1) the posttest scores on interpersonal relationships of the experimental group would be higher than its pretest scores. (2) the posttest scores on interpersonal relationships of the experimental group would be higher than the posttest scores of the control group. The research design was the pretest-posttest control group design. The sample was comprised of 16 employees of the TTL industries public company limited, Bangkok. They were randomly selected from the employees who scored below one standard deviation on the interpersonal relationships inventory. They were randomly assigned to the experimental group and the control group, each group comprised of 8 employees. The experimental group participated in group counseling conducted by the researcher for 8 hours a day for 3 consecutive days for approximately 24 hours. The instrument used in this study was the interpersonal relationships inventory based on Carkhuff's scale developed by the researcher. The t-test was utilized for data analysis. The results indicated that : (1) The posttest scores on interpersonal relationships of the experimental group were higher than its pretest scores at .05 level of significance. (2) The posttest scores on interpersonal relationships of the experimental group were higher than the posttest scores of the control group at .05 level of significance.en
dc.format.extent1026592 bytes-
dc.format.extent4615067 bytes-
dc.format.extent1225904 bytes-
dc.format.extent848710 bytes-
dc.format.extent2249482 bytes-
dc.format.extent868555 bytes-
dc.format.extent1681111 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการปรึกษาเชิงจิตวิทยาen
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลen
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ ต่อการเพิ่มสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพนักงานen
dc.title.alternativeEffects of Rogerian group counseling on increasing interpersonal relationships among employeesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPsoree@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuchanad_Si_front.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Nuchanad_Si_ch1.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open
Nuchanad_Si_ch2.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Nuchanad_Si_ch3.pdf828.82 kBAdobe PDFView/Open
Nuchanad_Si_ch4.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Nuchanad_Si_ch5.pdf848.2 kBAdobe PDFView/Open
Nuchanad_Si_back.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.