Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ หวังชิงชัย, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-24T12:20:07Z-
dc.date.available2006-07-24T12:20:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741741812-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1048-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่ใช้ในการรณรงค์โครงการพลังไทย ลดใช้พลังงาน และประสิทธิผลโครงการดังกล่าว โดยศึกษาจากการเปิดรับข่าวสาร ความตระหนักรู้ และพฤติกรรมการประหยัดพลังงาน ของกลุ่มตัวอย่างในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 415 คน โดยแบ่งวิธีการศึกษาเป็นสองส่วน ส่วนแรก ศึกษากลยุทธ์การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ โดยศึกษาจากเอกสารโครงการ และการสัมภาษณ์เจาะลึก และส่วนที่สอง คือ การศึกษาประสิทธิผลโครงการรณรงค์ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for WIINDOWS ในการประมวลผล ผลการศึกษาในส่วนกลยุทธ์การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ของโครงการรณรงค์ พบว่า กลยุทธ์หลัก คือ การใช้สื่อผสมผสาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักต่อการประหยัดพลังงาน และมีพฤติกรรมการประหยัดพลังงาน สำหรับผลการศึกษาในส่วนของประสิทธิผลโครงการรณรงค์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการเปิดรับข่าวสารโครงการรณรงค์ในระดับต่ำ มีความตระหนักรู้ต่อการประหยัดพลังงานในระดับสูง และมีพฤติกรรมการประหยัดพลังงานอยู่ในระดับสูง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1.การเปิดรับข่าวสารโครงการพลังไทย ลดใช้พลังงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตระหนักรู้ต่อการประหยัดพลังงาน 2.การเปิดรับข่าวสารโครงการพลังไทย ลดใช้พลังงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการประหยัดพลังงาน 3.ความตระหนักรู้ต่อการประหยัดพลังงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการประหยัดพลังงานen
dc.description.abstractalternativeThe main objective of the study of this research was to the public relations strategy in media utilization and effectiveness in energy conservation campaign. Its effectiveness was also examined through assessing sample's exposure to this campaign, awareness toward energy conservation and behavior to energy conservation. Questionnaires were used to collect data from the Bangkok inhabitants selected 415 samples Frequency,percentage,mean and pearson's product moment correlation coefficient were employed for the analysis of data SPSS program was used for data processing. The result of the study revealed that the principle strategies were to mixed media used in order to conduct awareness and energy saving behavior to the intended receivers. The result of the assumption were as follows : 1.Exposure to the campaign's spot and information is no correlated with the awareness toward energy conservation. 2. Exposure to the campaign's spot and information is positively correlated with the energy saving behavior. 3.Awareness toward energy conservation is positively correlated with energy saving behavior.en
dc.format.extent1144469 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.31-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการใช้พลังงานen
dc.subjectโครงการพลังไทย ลดใช้พลังงานen
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงานen
dc.titleกลยุทธ์การใช้สื่อประชาสัมพันธ์และประสิทธิผลโครงการพลังไทย ลดใช้พลังงานen
dc.title.alternativePublic relations strategy in media utilization and effectiveness in energy conservation campaignen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.31-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
laddawan.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.