Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ-
dc.contributor.authorกรฎี นาคชาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-28T09:05:40Z-
dc.date.available2009-08-28T09:05:40Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746389777-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10649-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractปัจจุบันการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะธุรกิจเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ผู้ประกอบการมักอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายหลอกลวงผู้ซื้อให้หลงเชื่อและเมื่อถึงเวลามักไม่ปฏิบัติตามสัญญา จากการวิจัยพบว่า กฎหมายในปัจจุบันยังขาดประสิทธิภาพในการควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกรณีเจตนาทุจริตฉ้อโกงของผู้ประกอบธุรกิจ ผู้วิจัยพบว่าบรรดากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าอสังหาริมทรัพย์ เช่น พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522, พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522, พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 ฯลฯ ยังขาดความชัดเจนที่จะนำมาใช้ลงโทษผู้ประกอบการหรือจำแนกเจตนาทุจริตฉ้อโกงของผู้ประกอบการได้ ประกอบกับกฎหมายแต่ละฉบับไม่ได้มุ่งคุ้มครองผู้บริโภคที่ต้องเกี่ยวข้องกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะและมีอยู่อย่างกระจัดกระจาย อีกทั้งยังเป็นมาตรการทางบริหารหรือเป็นกฎหมายในส่วนแพ่งทั้งสิ้น ในส่วนของความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา ผู้วิจัยพบว่า การตีความองค์ประกอบกฎหมายเรื่องเจตนาทุจริตนั้นเอื้อประโยชน์ให้ฝ่ายผู้ประกอบการ กระบวนการยุติธรรมของไทยไม่ว่าจะเป็นศาล อัยการหรือตำรวจตีความคำว่า "เจตนาทุจริต" อย่างจำกัด ทำให้โจทก์ต้องมีความยากลำบากในการพิสูจน์ ผู้วิจัยเสนอแนะให้บัญญัติกฎหมายพิเศษเพื่อควบคุมการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยอาจมีการกำหนดคุณสมบัติของผู้ประกอบการและบทบัญญัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อกฎหมายนี้มีผลใช้บังคับจะช่วยแก้ปัญหาของการแยกแยะเกี่ยวกับเจตนาทุจริตฉ้อโกงได้ อันส่งผลให้สามารถใช้กฎหมายอาญาฐานฉ้อโกงที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยหากผู้ประกอบการยังขืนฝ่าฝืนข้อกำหนดตามกฎหมายพิเศษย่อมชี้ให้เห็นถึงเจตนาทุจริตได้ ทำให้การใช้ดุลพินิจในการตีความคำว่า "เจตนาทุจริต" ทำได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ผู้วิจัยยังพบว่าในต่างประเทศได้ใช้ระบบนี้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการทุจริตฉ้อโกงของผู้ประกอบการในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้เป็นอย่างดีen
dc.description.abstractalternativeThe number of complaints relating to the fraud of real estate developer have been incessantly increasing over a past few years. Especially during the time of economic downturn. Some real estate developers incorporate their agreements in sale contracts and never perform their obligations. Unfortunately, the mechanism available under the provisions of relevant laws are not efficient enough to protect the interest of general consumers. The reseacher has found that the law relevant to real estate business i.e. Consumer Protection Act B.E. 2522, Condominium Act B.E. 2522, Unfair Contract Act B.E. 2540 etc. cannot be applied to penalize the developers for its intended fraudulent acts. In addition, none of these laws is designed to cope with real estate business. Besides, the measures provided under the law are administrative and civil in nature. The punishment under Criminal Law in respect of fraud connot be effectively applied as well. "Dishonestly" as element of crime is narrowly interpreted by lawyers. The problem of element of crime's interpretation leads to the acquital of the wrong doer. The researcher then proposes that a specific legislation should be enacted to control the operation of real estate business. The law many prescribe qualifications and other rules and regulations geverning the real estate development business. The researcher believes that once this law comes into force, it will solve the technical problem of interpretation of the term "dishonestly" and will reinforce the efficient application of fraud provision under present criminal law to the benefit of consumers. The developer will be deemed dishonest if he/she breaches the regulations perscribed in the law. The researcher has found that this measure has been successfully utilized to protect fraud by real estate developers in many countries.en
dc.format.extent918825 bytes-
dc.format.extent857298 bytes-
dc.format.extent1658594 bytes-
dc.format.extent2023244 bytes-
dc.format.extent1789543 bytes-
dc.format.extent978668 bytes-
dc.format.extent852093 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความผิดฐานฉ้อโกงen
dc.subjectธุรกิจอสังหาริมทรัพย์en
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาen
dc.titleความผิดฐานฉ้อโกงกับการควบคุมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์en
dc.title.alternativeFraud and the control of real estate businessen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorApirat.P@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Koradee_Na_front.pdf897.29 kBAdobe PDFView/Open
Koradee_Na_ch1.pdf837.21 kBAdobe PDFView/Open
Koradee_Na_ch2.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Koradee_Na_ch3.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Koradee_Na_ch4.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Koradee_Na_ch5.pdf955.73 kBAdobe PDFView/Open
Koradee_Na_back.pdf832.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.