Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10689
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุรา ปานเจริญ-
dc.contributor.authorบัญชา คำสิงห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-28T11:59:19Z-
dc.date.available2009-08-28T11:59:19Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740313566-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10689-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาการสกัดยูเรเนียม ทอเรียมและธาตุหายากจาก hydrous metal oxide cake ที่ได้จากการย่อยแร่โมนาไซต์ด้วยด่างโดยใช้หอสกัดแบบจานหมุนมีรู ในการศึกษาใช้ไตรบิวทิวฟอสเฟต (TBP) ที่ความเข้มข้นไม่เกิน 30% โดยปริมาตร ในน้ำมันก๊าดเเป็นสารสกัดสารป้อนเป็นสารละลายไนเตรตที่มีความเข้มข้นของยูเรเนียม ทอเรียมและธาตุหายากรวมกัน 1,000 ppm ความเข้มข้นของกรดไนตริกในสารป้อนอยู่ในช่วงระหว่าง 1-5 โมลต่อลิตร อัตราส่วนอัตราการไหลของสารละลายอินทรีย์ต่อสารละลายป้อนศึกษา ในช่วงระหว่าง 1:1 ถึง 1:5 และความเร็วรอบการกวนศึกษาในช่วงระหว่าง 100 ถึง 250 rpm จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า สามารถแยกยูเรเนียมและทอเรียมออกจากธาตุหายากได้ โดยขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ดังนี้คือ ความเร็วรอบการกวนมีผลต่อการสกัด โดยพบว่ามีการสกัดสูงสุดที่ความเร็วรอบการกวนเท่ากับ 200 rpm และเปอร์เซ็นต์การสกัดจะมีค่าเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของสารสกัด แต่จะมีค่าคงที่เมื่อความเข้มข้นของสารสกัดมากกว่า 20% โดยปริมาตร และประสิทธิภาพในการสกัดจะมีค่าเพิ่มขึ้น ตามอัตราส่วนอัตราการไหลของสารละลายอินทรีย์ ต่อสารละลายป้อนที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า ความเข้มข้นของกรดไนตริกในสารป้อนมีผลต่อเปอร์เซ็นต์การสกัด โดยพบว่ามีการสกัดสูงสุดที่ความเข้มข้นของกรดไนตริกเท่ากับ 3 โมลต่อลิตรen
dc.description.abstractalternativeTo study the extraction of uranium, thorium and rare earths from hydrous metal oxide cake obtained by alkaline digestion of monazite using perforated rotating disc column. The separation was studied using tri-n-butyl phosphate (TBP) as extractant at concentration below 30% v/v in kerosene. Nitrate solution containing 1,000 ppm of uranium, thorium and rare earths in 1-5 mol/l nitric acid was supplied as the feed. The flow rate ratio of organic solution per feed solution was studied in the range of 1:1-1:5 and the agitation speed was varied in the range of 100-250 rpm. The result from the studies revealed that this process could achieve the separation of uranium and thorium from rare earths. The optimum condition for the extraction was obtained at 200 rpm agitation speed. At the extractant concentration below 20% v/v in kerosene, the percentage of extraction increased in accordance with the concentration of extractant. After the addition of more than 20% v/v extractant, no increase of extraction was observed. And the efficiency of extraction increased in accordance with the flow rate ratio of organic solution per feed solution. Moreover, the percentage of extraction depended on the concentration of nitric acid in feed, with the maximum value at 3 mol/l.en
dc.format.extent1512924 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสกัดด้วยสารตัวทำละลายen
dc.subjectยูเรเนียมen
dc.subjectทอเรียมen
dc.subjectโมนาไซต์en
dc.titleการสกัดยูเรเนียมและทอเรียมจากแร่โมนาไซต์โดยใช้หอสกัดแบบจานหมุนมีรูen
dc.title.alternativeExtraction of uranium and thorium from monazite using perforated rotating disc columnen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUra.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Buncha.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.