Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10711
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุกัญญา โฆวิไลกูล | - |
dc.contributor.advisor | อุทัย บุญประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-29T04:12:52Z | - |
dc.date.available | 2009-08-29T04:12:52Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746371576 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10711 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาสภาพการบริหารงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และพัฒนากระบวนการบริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ เพื่อใช้สำหรับการบริหารงานในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลการวิจัยพบว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันที่มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถสูง ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และมีความเป็นผู้นำ ในการใช้เทคนิคการบริหารงานที่มุ่งเน้นคุณภาพ ได้มีการจัดทำทิศทางการพัฒนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระยะ 15 ปี (2540-2554) กำหนดทิศทางให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำอย่างชัดเจน การบริหารงานอยู่ในระยะของการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การบริหารงานมีอิสระมากขึ้น กำลังดำเนินการปฏิรูประบบงานบริหารวิชาการ มีความพร้อมต่อรูปแบบการบริหารใหม่ๆ ค่อนข้างสูง กระบวนการบริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ (TQM) ที่เหมาะสมสำหรับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย 8 ขั้นตอนคือ 1) การดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ TQM 2) การสร้างทีมดำเนินงาน TQM เพื่อนำร่อง 3) การนิยามและสำรวจความต้องการของผู้ใช้บริการ 4) การสร้างวิสัยทัศน์และกำหนดภารกิจ กำหนดระบบรางวัล 5) การกำหนดแผนการดำเนินงาน TQM 6) การดำเนินการจัดตั้งทีมย่อย 7) การสร้างความสัมพันธ์แต่ละทีมย่อยต่างหน่วยงาน 8) การรายงานผลและกำหนดรางวัล ขั้นตอนแต่ละขั้นตอนมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในระดับมากในทุกขั้นตอน ยกเว้นในด้านความเหมาะสมของการกำหนดรางวัล มีค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยน่าจะได้นำรูปแบบการบริหารงานแบบ TQM ไปใช้ในการบริหารงานมหาวิทยาลัย ซึ่งกำลังมีการปฏิรูประบบบริหารวิชาการอยู่แล้ว โดยกำหนดให้เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของมหาวิทยาลัย และให้ฝ่ายพัฒนาองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานกลางสำหรับดำเนินงาน | en |
dc.description.abstractalternative | To investigate the administration of Chulalongkorn University in order to develop an appropriate total quality management (TQM) process for the University. It was found that Chulalongkorn University has many favorable conditions that enhance opportunity for TQM implementation. The University has highly qualified personnel. The University has fifteen year development plan (2540-2544) aiming at being an excellent intenational institution. The administrators leadership is strong and they have clear vision in organization development. Currently, the administration is in the process of decentralization and an academic management being reform. An appropriate TQM process for the University consists of : introduction of TQM process, establishment of a pilot TQM team, identification of vision and mission, set-up of award system, set-up of implementation plan, set-up of sub-teams, establishment of coordination among sub-teams, and set-up of reporting and awarding process. The study reveals that all 8 steps above are fairly feasible and most likely achievable. Only the reporting and awarding was cautioned. This study recommended that the University implement the TQM using the standard operating manual as developed in this research as guideline and the University's Human Resources Development Department be the center for implementation of the TQM process. | en |
dc.format.extent | 930143 bytes | - |
dc.format.extent | 1065912 bytes | - |
dc.format.extent | 3402432 bytes | - |
dc.format.extent | 990505 bytes | - |
dc.format.extent | 2026247 bytes | - |
dc.format.extent | 1943450 bytes | - |
dc.format.extent | 4372728 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- การบริหาร | en |
dc.subject | การบริหารคุณภาพโดยรวม | en |
dc.subject | สถาบันอุดมศึกษา -- การบริหาร | en |
dc.title | การพัฒนากระบวนการบริหารงานสถาบันอุดมศึกษา ตามแนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ : กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title.alternative | The development of administrative process for higher education institution by employing the total quality management concept (TQM) : a case study of Chulalongkorn University | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | อุดมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sukanya.K@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Uthai.B@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pansak_Po_front.pdf | 908.34 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pansak_Po_ch1.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pansak_Po_ch2.pdf | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pansak_Po_ch3.pdf | 967.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pansak_Po_ch4.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pansak_Po_ch5.pdf | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pansak_Po_back.pdf | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.