Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิทธิพล เดี่ยววณิชย์-
dc.contributor.advisorอุเมตะ, ทาคาเทรุ-
dc.contributor.authorวันทนีย์ พุกกะคุปต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-31T04:49:36Z-
dc.date.available2009-08-31T04:49:36Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307329-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10770-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาอัตราการถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อระหว่างชิ้นงานกับแบบหล่อชนิดถาวรขณะชิ้นงานเกิดการเย็นตัวและแข็งตัวอย่างมีทิศทางในรูปของค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อระหว่างชิ้นงานกับแบบหล่อ โดยค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนดังกล่าวได้ จากการคำนวณด้วยระเบียบวิธีเชิงตัวเลขซึ่งอาศัยข้อมูลที่วัดได้จากการทดลองเป็นหลัก นอกจากนี้ยังศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อระหว่างชิ้นงานกับแบบหล่อ 4 ปัจจัย อันได้แก่ (1) อุณหภูมิเท (2) ส่วนผสมของโลหะที่นำมาหล่อ (3) ชนิดของสารเคลือบผิวแบบหล่อและ (4) ความหนาของสารเคลือบผิวแบบหล่อ ผลการวิจัยพบว่าค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อระหว่างชิ้นงานกับแบบหล่อนั้นแปรผันตามเวลา กล่าวคือเพิ่มขึ้นสูงในช่วงแรกจนถึงค่าสูงสุดแล้วลดลงอย่างต่อเนื่องในเวลาต่อมา ส่วนปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อพบว่า อุณหภูมิเทที่สูงขึ้นสารเคลือบผิวที่มีสมบัตินำความร้อนได้ดีและชั้นความหนาของสารเคลือบผิวที่บางลงส่งเสริมให้อัตราการถ่ายเทความร้อนและค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนสูงขึ้น นอกจากนี้เมื่อนำค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนที่คำนวณได้มาใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำลองการแข็งตัวของน้ำโลหะ พบว่าผลการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่คำนวณได้มีค่าใกล้เคียงกับผลที่วัดได้จากการทดลอง จึงสรุปได้ว่ารูปแบบการคำนวณสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนที่ได้จากงานวิจัยนี้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อระหว่างชิ้นงานกับแบบหล่อen
dc.description.abstractalternativeExperiments and simple numerical analyses were carried out to determine the rate of heat transfer at metal/mold interface during solidification in the form of heat transfer coefficient based on experimental data. Molten aluminum alloy was cast in a H13 mold and uni-directionally solidified. Temperatures at both metal and mold regions at various selected locations were monitored and analyzed heat transfer behaviour between mold and casting. Effects of coating conditions: coating type and coating thickness, and casting conditions: pouring temperature and alloy composition, were also evaluated. It was found that the rate of heat transfer varies with time. High pouring temperature, thin coating layer, high thermal conductive mold coating promote the rate of heat transfer across the interface. When the calculated heat transfer coefficient was applied as one of the initial parameters for casting simulation, it was shown that calculated temperatures agree with measured temperature. The calculation method employed in this study can be another alternative to determine heat transfer coefficient at metal/mold interface.en
dc.format.extent1556061 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความร้อน -- การถ่ายเทen
dc.subjectโลหะ -- การหล่อen
dc.subjectโลหะ -- การขึ้นรูปen
dc.titleการตรวจวัดค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนบริเวณรอยต่อระหว่างชิ้นงานกับแบบหล่อระหว่างการแข็งตัวของชิ้นงานในแบบหล่อชนิดถาวรen
dc.title.alternativeMeasurement of heat transfer coefficients at metal/mold interface during solidification of casting in a permanent molden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorIttipon.D@chula.ac.th, fmtidw@kankrow.eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorumeda@kankrow.eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wantanee.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.