Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.advisorนิศาชล ตั้งเสงี่ยมวิสัย-
dc.contributor.authorจิราภา ทรงธนศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-31T06:56:41Z-
dc.date.available2009-08-31T06:56:41Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741736916-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10783-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractระบบมัลติ-แคเรียร์ ซีดีเอ็มเอ (MC-CDMA) เป็นระบบการสื่อสารที่เกิดจากการทำงานร่วมกันของระบบซีดีเอ็มเอ (CDMA) และ เทคนิค OFDM ระบบ MC-CDMA มีความไวต่อเฟดดิงเฉพาะความถี่ (frequency selective fading) น้อยกว่าระบบ DS-CDMA และยังตัองการอัตราชิปที่ต่ำกว่า ซึ่งเหมาะกับ ทราฟฟิกมัลติมีเดียต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ระบบ MC-CDMA มีความไวต่อความถี่ออฟเซตเป็นอย่างมาก วิทยานิพนธ์นี้จึงนำเสนอเครื่องรับชนิดหักล้างสัญญาณแทรกสอดอย่างขนานที่มีการแก้ไขความถี่ออฟเซตแบบปรับตัวได้ สำหรับระบบมัลติ-แคเรียร์ ซีดีเอ็มเอ ซึ่งจะสามารถแก้ไขผลของความถี่ออฟเซต ด้วยค่าความถี่ออฟเซตที่ประมาณได้โดยเทคนิคการประมาณค่าความถี่ออฟเซตแบบบอด และยังสามารถลดผลของสัญญาณรบกวนจากผู้ใช้คนอื่น (MAI) ได้ โดยใช้การประมาณค่าความถี่ออฟเซตด้วยเทคนิค Maximum Likelihood และเทคนิคคลื่นพาห์เสมือนในการประมาณค่าความถี่ออฟเซต เนื่องจากค่าความถี่ออฟเซตของผู้ใช้แต่ละคนมีค่าไม่เท่ากันในกรณีของการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่ปลายทางไปยังสถานีฐาน ดังนั้นจึงต้องใช้เทคนิคการหักล้างสัญญาณแทรกสอดในการแยกสัญญาณของผู้ใช้ที่สนใจออกจากสัญญาณรวมที่รับได้ที่สถานีฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องรับแบบแมตช์ และเครื่องรับชนิดหักล้างสัญญาณแทรกสอดอย่างขนานที่ไม่มีการแก้ไขความถี่ออฟเซตแล้ว เครื่องรับที่นำเสนอจะให้ประสิทธิภาพดีกว่า โดยพิจารณาในเทอมของ BERen
dc.description.abstractalternativeMC-CDMA is a multiple access scheme based on a combination of code division and OFDM technique. For high data rate communication, as compared to DS-CDMA, MC-CDMA is less sensitive to frequency selective fading channel, needs much lower chip rate at the same processing gain and is capable of handling diverse multimedia traffic. However, MC-CDMA is much sensitive to carrier frequency offset. This thesis proposed a parallel interference cancellation receiver (PIC) with adaptive frequency offset correction for MC-CDMA systems. By using blind adaptive frequency offset estimation technique and PIC, the proposed receiver can jointly correct the frequency offset and the multiple access interference (MAI). The Maximum Likelihood technique and the Virtual carrier are used for blind frequency offset estimation. Since the value of frequency offset for each user is usually not the same in the uplink, therefore; the desired user’s signal is needed to be separated from the mixed signal in order to be able to estimate the frequency offset. The PIC is used for signal separation. As compared to the conventional PIC and matched filters, the proposed receiver can improve the performance of the receiver in term of BER.en
dc.format.extent1776460 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้าen
dc.subjectการเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัสen
dc.titleเครื่องรับชนิดหักล้างสัญญาณแทรกสอดแบบขนาน ที่มีการแก้ไขความถี่ออฟเซตแบบปรับตัวได้สำหรับระบบมัลติ-แคเรียร์ ซีดีเอ็มเอen
dc.title.alternativeParallel interference cancellation receiver with adaptive frequency offset correction for multi-carrier CDMA systemsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.J@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNisachon.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jirapa.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.