Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์เพ็ญ ศกุนตาภัย
dc.contributor.authorจักเรศ พิทยาคม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.coverage.spatialไทย
dc.date.accessioned2009-09-01T08:34:32Z
dc.date.available2009-09-01T08:34:32Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745673455
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10893
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractรัฐธรรมนูญนั้น นอกจากจะเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศแล้ว ยังเป็นภาพสะท้อนของปรัชญา อุดมการณ์ และแนวความคิดทางการเมืองของรัฐนั้นอีกด้วย ทั้งนี้เป็นการแสดงออกมาจากผู้มีสิทธิมีเสียงในการร่าง และจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับนั้น ๆ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งที่จะศึกษาถึงกระบวนการในการคุ้มครองมิให้สิทธิ และเสรีภาพของประชาชนที่รัฐรับรอง โดยบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ถูกละเมิดโดยกฎหมายทั่ว ๆ ไป ซึ่งกระบวนการนี้ก็คือ การควบคุมไม่ให้กฎหมายขัดรัฐธรรมนูญนั่นเอง จากแนวความคิดที่ว่า รัฐธรรมนูญในลักษณะหนึ่งแล้วเป็นเสมือนข้อตกลงที่รัฐมีต่อปัจเจกชนว่าสิทธิ และเสรีภาพใดบ้างที่รัฐรับรอง และมิอาจล่วงละเมิดได้ จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการในทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลดังกล่าว ผลจากการศึกษาพบว่า แม้องค์กรที่ทำหน้าที่ควบคุมไม่ให้กฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าจะเป็นคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ หรือศาลยุติธรรมจะสามารถคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่เนื่องจากระบบที่ใช้ในประเทศไทย เป็นระบบต่อสู้ป้องกันบุคคลจะร้องเรียนว่ากฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญได้ก็ต่อเมื่อกฎหมายนั้น ๆ จะนำมาใช้บังคับแก่กรณีตนในชั้นศาล ซึ่งผู้นั้นจะต้องเสี่ยงภัย หากว่าองค์กรที่ทำหน้าที่พิจารณาไม่เห็นว่ากฎหมายนั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญ ผู้นั้นก็ย่อมได้รับผลร้ายจากกฎหมายดังกล่าว ดังนั้นข้อเสนอแนะในทางวิชาการที่มีต่อระบบการควบคุมไม่ให้กฎหมายขัดรัฐธรรมนูญในประเทศไทยก็คือ เปลี่ยนไปใช้ระบบกล่าวหา และจัดรูปแบบองค์กรที่ทำหน้าที่ควบคุมขึ้นใหม่ในรูปแบบของศาลรัฐธรรมนูญen
dc.description.abstractalternativeAims to study the process whereby rights and liberty of the people guaranteed by the state as embodied within the constitution will not be infringed upon by ordinary laws, which is a mechanism to guard against unconstitutionality of the law. Based on concept that, in a sense, the constitution serves as a contract, entered upon by the state and individuals, which upholds an in violability of certain rights and liberty granted by the state, ways and means must, then, be provided for to carry out that purpose. It is found out in this study that despite the fact that organs of the state such as constitutional tribunal or court of justice are able to protect rights and liberty of the people as stipulated by the constitution, yet the system adopted in Thailand is one of inquisitorial type. Citizen can accuse that a certain law is unconstitutional only when it is so proued in the court of justice. Citizen has to take the risk of being penalized by law should the judging organ declare that the law is infact constitutional. The suggestion here for the system to guard against unconstitutionality of the law is to adopt accusatorial system and to institutionalize a new organ in the form of constitutional court.en
dc.format.extent36174400 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมายรัฐธรรมนูญen
dc.subjectคณะตุลาการรัฐธรรมนูญen
dc.subjectการขัดกันแห่งกฎหมายen
dc.subjectรัฐธรรมนูญ -- ไทยen
dc.titleการควบคุมไม่ให้กฎหมายขัดรัฐธรรมนูญในประเทศไทยen
dc.title.alternativeThe system for controlling the constitutionality of laws in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปกครองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chakres.pdf35.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.