Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทิกา ทวิชาชาติ-
dc.contributor.authorศักดา ขำคม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-17T03:31:06Z-
dc.date.available2009-09-17T03:31:06Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383787-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11163-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษารูปแบบการสื่อสารในครอบครัวของเด็กและเยาวชน อายุ 12-16 ปี ที่กระทำผิดกฎหมายและไม่กระทำผิดกฎหมาย และหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารในครอบครัว กับการกระทำผิดกฎหมายของเด็กและเยาวชน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 150 ราย ซึ่งกลุ่มที่กระทำผิดกฎหมายเป็นเด็กและเยาวชนที่ถูกควบคุมประพฤติ ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลางกรุงเทพมหานคร ส่วนกลุ่มที่ไม่กระทำผิดกฎหมายเป็นเด็กนักเรียนของโรงเรียน ในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่ใช้วัดรูปแบบการสื่อสารในครอบครัวนำ มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่า Unpaired t-test และค่าไคสแควร์ จากการศึกษาพบว่า 1. เด็กและเยาวชนที่กระทำผิดกฎหมาย มีรูปแบบการสื่อสารในครอบครัวแบบเชิงบวกและแบบเปิด น้อยกว่าเด็กและเยาวชนที่ไม่กระทำผิดกฎหมาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .001 ตามลำดับ 2. เด็กและเยาวชนชายที่กระทำผิดกฎหมายมีรูปแบบการสื่อสารในครอบครัว แบบเชิงลบมากกว่าแบบเปิดและเชิงบวกน้อยกว่าเด็กและเยาวชนชายที่ไม่กระทำผิดกฎหมาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, .01 และ .001 ตามลำดับ 3. เด็กและเยาวชนหญิงที่กระทำผิดกฎหมาย มีรูปแบบการสื่อสารในครอบครัวแบบเปิดน้อยกว่าเด็กและเยาวชนหญิงที่ไม่กระทำผิดกฎหมาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. รูปแบบการสื่อสารในครอบครัวแบบเชิงบวกและแบบเปิด มีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดและไม่กระทำผิดกฎหมาย ของเด็กและเยาวชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .001 ตามลำดับ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการสื่อสารในครอบครัว มีบทบาทสำคัญต่อการเกิดพฤติกรรมกระทำผิด และไม่กระทำผิดกฎหมาย ของเด็กและเยาวชน กล่าวคือ การสื่อสารในครอบครัวแบบเชิงบวกและแบบเปิด ซึ่งพบมากในครอบครัวของเด็กและเยาวชนที่ไม่กระทำผิดกฎหมาย จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้แต่ละครอบครัว ได้มีการสื่อสารในลักษณะทั้งสองแบบ อันจะช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตในครอบครัว และอาจจะช่วยป้องกันปัญหาพฤติกรรมต่างๆ ของเด็กและเยาวชนen
dc.description.abstractalternativeTo explore the patterns of communication in a family of children aged 12-16 who were juvenile delinquents and non-delinquents and to study the relationships between the family communication patterns and juvenile delinquency. Samples were 150 juvenile delinquents and 15 non-delinquents. The former were drawn from those in the Central Observation and Protection Center andthe latter were drawn from the students studying in schools under the Expansion of Educational Opportunity Project in the responsibility of the Bureau of Local Education, BMA. Data on family communication patterns was collected with a adapted questionnaire. This study used descriptive statistics, unpaired t-test, and chi-square test. The results were found as the following: 1. Positive and Open family communication patterns were found in the juvenile delinquents less than the non-delinquents with statistically significant different at the level of .01 and .001 respectively. 2. Negative family communication was found in male juvenile delinquents more than the non-delinquents, whereas the open and positive family communication patterns were found in male juvenile non-delinquents more than the male juvenile delinquents with statistically significant different at the level of .05, .01, abd .001 respectively. 3. Open family communication pattern was found the female juvenile delinquents less than the female juvenile non-delinquents with statistically significant different at th level of .01. 4. Positive and open family communication patterns related to juvenile edlinquency and non-delinquency significantly at the level of .01 and .001 respectively. These findings show that family communication patterns play an important role in juvenile delinquency and non-delinquency i.e. the positive and open family communication patterns were found more in the non-delinquents' families. Therefore, each family should be encouraged to use these two patterns of communication in the family in order to strengthen mental health and may prevent juvenile behavioral problems.en
dc.format.extent822171 bytes-
dc.format.extent782705 bytes-
dc.format.extent1526344 bytes-
dc.format.extent799609 bytes-
dc.format.extent1017417 bytes-
dc.format.extent818677 bytes-
dc.format.extent940927 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครอบครัวen
dc.subjectการสื่อสารในครอบครัวen
dc.subjectเด็กเกเรen
dc.subjectเยาวชนen
dc.titleรูปแบบการสื่อสารในครอบครัว ตามการรับรู้ของเด็กและเยาวชน ที่กระทำผิดกฎหมายและไม่กระทำผิดกฎหมายในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeFamily communication patterns as perceived by juvenile delinquents and non-delinquents in Bangkok Metropolitanen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmednta@md2.md.chula.ac.th, Nuntika.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakda_Kh_front.pdf802.9 kBAdobe PDFView/Open
Sakda_Kh_ch1.pdf764.36 kBAdobe PDFView/Open
Sakda_Kh_ch2.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Sakda_Kh_ch3.pdf780.87 kBAdobe PDFView/Open
Sakda_Kh_ch4.pdf993.57 kBAdobe PDFView/Open
Sakda_Kh_ch5.pdf799.49 kBAdobe PDFView/Open
Sakda_Kh_back.pdf918.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.