Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11293
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล รอดคำดี-
dc.contributor.authorจันทร์จิรา แผ่สุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-22T12:45:17Z-
dc.date.available2009-09-22T12:45:17Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746364529-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11293-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractเพื่อวิเคราะห์กระบวนการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชน กรณีพระยันตระด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งอาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากข่าวหนังสือพิมพ์และข่าวจากโทรทัศน์ ในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2538 และสัมภาษณ์บรรณาธิการ หัวหน้าข่าว และนักข่าวจำนวน 11 ท่าน แนวคิดเกี่ยวกับการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชน พบว่านอกจากสื่อมวลชนจะตระหนักถึงแนวนโยบายขององค์กร และผู้บริหารงานข่าวแล้ว ยังคำนึงถึงหน้าที่ของสื่อมวลชนในการแสวงหาข้อเท็จจริง เพื่อนำเสนอให้ประชาชนทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพราะเห็นว่าข่าวนี้มีองค์ประกอบทางข่าวสูง ส่วนแนวทางในการคัดเลือกประเด็นข่าวของสื่อมวลชน ต้องอยู่ภายใต้นโยบายขององค์กรและผู้บริหารงานข่าวเช่นเดียวกัน และต้องเป็นข่าวที่ผู้คนให้ความสนใจและมีผลกระทบต่อคนจำนวนมาก โดยจะนำประเด็นเล็กๆ ของเหตุการณ์มานำเสนอเป็นสีสันของข่าว วิธีการนำเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ จะใช้กลวิธีและรายละเอียดในการนำเสนอที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับแนวนโยบายขององค์กรและความถนัดของผู้เขียนข่าว เช่น การพาดหัวข่าว การใช้ถ้อยคำ ภาษา คำย่อ และเครื่องหมายต่างๆ เพื่อดึงดูดความสนใจและเร้าอารมณ์ สร้างความรู้สึกให้กับผู้อ่าน ในบางครั้งยังสร้างความโน้มน้าวใจด้วยการใช้คำที่แสดงอคติโดยใส่ความคิดเห็นของผู้เขียนลงไปในข่าว และเนื่องจากเหตุการณ์นี้มีผู้คนสนใจเป็นจำนวนมาก จึงนำเสนอในลักษณะลำดับเหตุการณ์ตามเวลาที่เกิดขึ้นเป็นฉากๆ และนำเอกสารหลักฐาน รูปภาพ สลิปบัตรเครดิต กราฟฟิค แผนผัง มาเสนอเพื่อเป็นการยืนยันข้อเท็จจริง และสร้างความน่าเชื่อถือให้กับข่าว ส่วนโทรทัศน์จะใช้ภาษาในการนำเสนอข่าวที่ค่อนข้างเป็นทางการ และตรงไปตรงมาตามข้อเท็จจริง แตกต่างกันที่จังหวะและลีลาของผู้อ่านข่าวแต่ละช่อง มีการนำเสนอหัวข่าวเพื่อสรุปประเด็นหรือสรุปใจความสำคัญของเนื้อข่าว การนำเสนอเนื้อข่าวจะอิงเหตุการณ์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก และใช้เทคนิคการตัดต่อเพื่อลำดับเหตุการณ์ นอกจากนี้ยังพบว่ามีปัจจัยภายนอกและภายในหลายประการที่มีส่วนกำหนดให้แต่ละองค์กรมีวิธีการนำเสนอที่แตกต่างกันคือ สภาพการแข่งขัน การนับถือศาสนา นโยบาย คุณค่าของข่าว กฎหมาย จรรยาวิชาชีพ อุปกรณ์เครื่องมือ บุคคล รวมทั้งข้อจำกัดทางด้านเวลาen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to evaluate process of mass media news presentation in case of Phra Yantra according to qualitative standards. News stories from newspapers and television were collected for this purpose during the period of January - March 1995, and eleven news editors were interviewed as well. The result of this study are as follows : The mass media were concerned with Phra Yantra in the light of their responsibility to inform the public of the actual events which occurred and motivated by the high "news value" and public interest in this case. Nonetheless, each news bureau would select stories base on its particular news policies as well. They were also aware that information in this matter must has enough value to be interested and which affect many people. Small items of interest or even descriptions of the general atmosphere would be related as news. Newspapers utilized a diversity of methods to sustain interest and arouse feeling regarding this story, such as headlines, catchwords, abbreviations, and symbols. In some cases, the news writer would strive to influence the perceptions of the reader by expressions of positive or negative connotation. Because of the great general interest this story generated, most of the newspapers would present a chronology or events accompanied, by scenarios and documents, such as picture, photocopied of credit card slips, graphic diagram which would reinforce the impression of objectivity in media coverage. On Television, the description would tend to be summary and official - sounding, with differences noticeable in the pace or tone of the announcer. The other hand, presented its information straight forward, by means of editing, chronologies of important events, and profiles of major figures involved. Besides, there are many external and internal factors involved in each news bureau regarding various news presentation methods, such as competitive conditions, religion, news value, law, morals, equipment & personnel and time limiten
dc.format.extent765079 bytes-
dc.format.extent820639 bytes-
dc.format.extent835650 bytes-
dc.format.extent712645 bytes-
dc.format.extent1051941 bytes-
dc.format.extent887033 bytes-
dc.format.extent2631768 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพระยันตระen
dc.subjectหนังสือพิมพ์ -- การกำหนดวาระข่าวสารen
dc.subjectข่าวโทรทัศน์en
dc.subjectการสื่อข่าวและการเขียนข่าวen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.titleกระบวนการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนกรณีพระยันตระen
dc.title.alternativeProcess of mass media news presentation in case of Phra Yantraen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJoompol.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanchira_Ph_front.pdf747.15 kBAdobe PDFView/Open
Chanchira_Ph_ch1.pdf801.41 kBAdobe PDFView/Open
Chanchira_Ph_ch2.pdf816.06 kBAdobe PDFView/Open
Chanchira_Ph_ch3.pdf695.94 kBAdobe PDFView/Open
Chanchira_Ph_ch4.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Chanchira_Ph_ch5.pdf866.24 kBAdobe PDFView/Open
Chanchira_Ph_back.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.