Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11586
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนิตา รักษ์พลเมือง | - |
dc.contributor.advisor | สุภางค์ จันทวานิช | - |
dc.contributor.author | วรรณี ไทยานันท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคกลาง) | - |
dc.date.accessioned | 2009-10-27T10:07:05Z | - |
dc.date.available | 2009-10-27T10:07:05Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746381911 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11586 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | พัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคม วิเคราะห์ความต้องการและปัจจัยเงื่อนไข นำเสนอนโยบาย และแนวทางในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมในเขตชนบทยากจน งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) เก็บข้อมูลด้วยวิธีสนทนากลุ่ม สัมภาษณ์เชิงลึก สังเกตแบบมีส่วนร่วม ในส่วนนโยบายที่นำเสนอ ผู้วิจัยนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง พื้นที่ในการศึกษาคือ หมู่บ้านชนบทยากจน 2 แห่ง ในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดอ่างทอง ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล 10 เดือน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคม ในเขตชนบทยากจนที่พัฒนาขึ้นจากความต้องการของชุมชนประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ด้าน คือ 1) เศรษฐกิจ 2) ครอบครัวและสังคม 3) อนามัยและสาธารณสุข 4) ความมั่นคงและสิทธิ 5) การศึกษา ความรู้ข้อมูลข่าวสาร และวัฒนธรรมจิตใจ และ 6) โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม ชุมชนชนบทยากจนเห็นว่าตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ เป็นตัวชี้วัดที่สำคัญ และมีความต้องการมากที่สุด 2. ความต้องการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ความต้องการจำเป็นในด้านพุทธิพิสัย คือ ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจชุมชน ระบบสหกรณ์ ยาเสพติด อาชีพ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรู้จักคิดวิเคราะห์ หาวิธีแก้ปัญหาชุมชน ด้านจิตพิสัย ได้แก่ การมีคุณธรรมจริยธรรม เน้นความซื่อสัตย์ ประหยัด เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความรับผิดชอบต่อครอบครัวและสังคม ไม่หมกมุ่นอบายมุข และซาบซึ้งวิถีชีวิตแบบไทย และทักษะพิสัยคือ การพัฒนาอาชีพในท้องถิ่น และการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ปัจจัยที่สำคัญในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน คือ การพัฒนาท้องถิ่นอย่างจริงจัง ความต่อเนื่องของโครงการที่โรงเรียนมีส่วนร่วม ความร่วมมือจากวิทยากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนปัจจัยในการจัดการศึกษาตามแนววิถีชีวิต คือ ความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทางการศึกษา กับหน่วยงานทางการพัฒนา นอกจากนี้ยังมีปัจจัยร่วมในด้านการประสานเชื่อมโยง ระหว่างบ้าน วัดและโรงเรียน 3. นโยบายและแนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตชนบทยากจนที่สำคัญ คือ การมีศูนย์ข้อมูลหมู่บ้านในสถานศึกษาของชุมชน การปลูกฝังค่านิยมความเป็นไทย การปฏิรูปหลักสูตร และการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น | en |
dc.description.abstractalternative | To develop the quality of life and society indicators, to analyze educational needs and related factors, as well as to propose policies of basic education for the development of quality of life and society in poverty-stricken areas. A qualitative research methodology, namely, Participatory Action Research (PAR) was employed in data collection by using the techniques of focus-group discussion, indepth interview, and participant observation. Expert judgement was used to examine and evaluate the proposed policies. The researcher spent 10 months gathering data In 2 villages in Changwat Suphan Buri and Angtong. Research findings were as follows: 1. The quality of life and society indicators developed by the community comprised of 6 components, namely, Economic; Family and Society; Health Care; Security and Human Right; Education, Knowledge, Information, and Cultural-Spiritual; Infrastructure and Environment. Among these components, economic was considered as most important. 2. Basic educational needs of the community were; Cognitive domain : knowledge on community business; cooperative system; narcotics; local occupations; culture and local wisdom; as well as problem-solving skills. Affective domain : moral and ethics with emphasis on honesty, being economized, generosity, responsibility for one's own family and society and appreciation of the Thai way of life. Psychomotor domain : team-working skills, skills related to cooperative activities and local occupation development as well as self-learning skills. Concerning related factors in providing basic education, it was found that a serious action in developing local curriculum, continuation of school projects, and cooperation from resource persons and related organizations were necessary for the schools, while empowerment of local leaders and cooperation among educational and development offices were needed for Out-of school activities. Moreover, it was imperatives to build linkages among the family, the temples and the schools in the community. 3. The policies and guidelines for basic education in poverty-stricken areas suggested as important were the establishment of local information center in the school, the inculcation of Thai values, and the reform of curriculum and instruction to meet the needs of local community. | en |
dc.format.extent | 944341 bytes | - |
dc.format.extent | 1045681 bytes | - |
dc.format.extent | 6206199 bytes | - |
dc.format.extent | 1025811 bytes | - |
dc.format.extent | 3213566 bytes | - |
dc.format.extent | 2036766 bytes | - |
dc.format.extent | 1471457 bytes | - |
dc.format.extent | 1470544 bytes | - |
dc.format.extent | 1261409 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | en |
dc.subject | การพัฒนาสังคม | en |
dc.subject | การศึกษาขั้นพื้นฐาน | en |
dc.title | การนำเสนอนโยบายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม : กรณีศึกษาเขตชนบทยากจนในภาคกลาง | en |
dc.title.alternative | A proposed policy of basic education for the development of quality of life and society : case studies of poverty-stricken areas in the central region | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | พัฒนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | chanita.r@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Supang.C@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wannee_Th_front.pdf | 922.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch1.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch2.pdf | 6.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch3.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch4.pdf | 3.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch5.pdf | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch6.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_ch7.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannee_Th_back.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.