Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1171
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์-
dc.contributor.authorศิริชัย วัฒนาโสภณ, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-28T05:09:24Z-
dc.date.available2006-07-28T05:09:24Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740314449-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1171-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งในการประมาณกำลังไฟฟ้าสูญเสีย ในระบบจำหน่ายไฟฟ้านั้นอยู่ที่ความไม่แน่นอนของข้อมูล เนื่องจากลักษณะและปริมาณการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ในระบบจำหน่าย มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เป็นระยะๆ ดังนั้นเพื่อที่จะทำให้การพิจารณาครอบคลุมถึง ความเป็นไปได้ของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงประมาณกำลังสูญเสียโดยแยกออกเป็น 2 ส่วนตามระดับแรงดัน โดยในระดับแรงดันปานกลาง (22, 24 kV) นั้น ได้นำหลักการของการคำนวณการไหลของกำลังไฟฟ้าแบบสามเฟสมาใช้ และผลตอบที่ได้จากการประมาณค่ากำลังไฟฟ้าสูญเสียในระดับแรงดันปานกลางนี้ จะมีค่าตามระดับความเป็นไปได้ของกำลังสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในระบบคือ ค่ากำลังสูญเสียต่ำสุด ค่ากลาง และค่าสูงสุด (Min, Mean, Max) ตามลำดับ ส่วนในระดับแรงดันต่ำ (380 , 400 V) ได้นำทฤษฎีฟัซซีมาประยุกต์ใช้กับข้อมูลต่างๆ ที่สามารถทราบค่าได้ โดยกำลังสูญเสียที่ได้จากการประมาณนี้จะอยู่ในรูปของตัวเลขฟัซซีซึ่งสามารถทำการ Defuzzification ค่ากำลังสูญเสียเพื่อให้อยู่ในรูปของตัวเลขค่าเดียวได้ จากนั้นจึงนำวิธีที่ได้เสนอนี้ไปทดสอบกับระบบทดสอบสำหรับแต่ละระดับแรงดัน โดยวงจรสายป้อนที่ 2 และ 10 ของสถานีไฟฟ้า อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นระบบทดสอบในระดับแรงดันปานกลาง และใช้วงจรจำหน่ายไฟฟ้าหลังหม้อแปลงตัวอย่างขนาด 250 kVA ของการไฟฟ้าฯ อ. ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นระบบทดสอบในระดับแรงดันต่ำ จากผลการคำนวณแสดงให้เห็นว่า ผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีที่นำเสนอนี้ อยู่ในช่วงที่สามารถยอมรับได้ ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงen
dc.description.abstractalternativeA problem of the electric power loss estimation in distribution system is the uncertainty of the data, since connection and quantity of equipment in the distribution system is normally changed along time. To obtain the loss results covering the true value, the thesis estimates the power losses by separating distribution networks according to voltage level, i.e. medium (22, 24 kV) and low (400 V) voltages. In medium voltage, a three-phase load flow is used to calculate loss. The results of the power loss estimation will be presented as the possibly level of power losses occurred, i.e. minimum, medium and maximum loss respectively. For the low voltage, fuzzy theorem is employed with the available data. This results of estimations is the fuzzy number which is able to defuzzificate the power losses to be a real number. Consequently, this method is tested with test systems, for each voltage level. Feeders 2 and 10 of the substation located at Sena district, Ayuthaya province is the test system for the medium voltage. Then, the circuit behind the sampled transformer rated of 250 kVA in Taruae district, Ayuthaya province is used as the test system for the low voltage. The estimated power losses show that the results of the presented method are in an acceptable range. Therefore this method is suitable to be used in practice.en
dc.format.extent1176499 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง -- กำลังงานสูญเสียen
dc.subjectการจ่ายพลังงานไฟฟ้าen
dc.subjectฟัสซีเซตen
dc.titleการประมาณกำลังสูญเสียทางไฟฟ้าในระบบจำหน่ายen
dc.title.alternativeElectric power losses estimation in distribution systemsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBundhit.E@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirichai.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.