Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิลปชัย สุวรรณธาตา-
dc.contributor.authorอมรรัตน์ ศิริพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-12-18T06:00:14Z-
dc.date.available2009-12-18T06:00:14Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746391429-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11873-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาและเปรียบเทียบความเข้มแข็งทางจิตใจของนักกีฬาประเภททีม และประเภทบุคคลของเขต 3, เขต 4 และเขต 10 ที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30 พุทธศักราช 2540 และเพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างประเภทกีฬากับเขตการแข่งขัน ที่มีผลต่อความเข้มแข็งทางจิตใจ ตัวอย่างประชากรเป็นนักกีฬาประเภททีมเขต 3 จำนวน 65 คน นักกีฬาประเภทบุคคลเขต 3 จำนวน 96 คน นักกีฬาประเภททีมเขต 4 จำนวน 64 คน นักกีฬาประเภทบุคคลเขต 4 จำนวน 94 คน และนักกีฬาประเภททีมเขต 10 จำนวน 73 คน นักกีฬาประเภทบุคคลเขต 10 จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดความเข้มแข็งทางจิตใจ ของโลเออร์ (Loehr, 1986) มีคุณภาพความตรงเชิงเนื้อหา ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 0.97 และมีค่าความเที่ยง 0.90 นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความเข้มแข็งทางจิตใจรวมทุกด้านของนักกีฬาประเภททีมเขต 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.07 อยู่ในระดับต้องการพัฒนา, เขต 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.94 อยู่ในระดับต้องการพัฒนา และเขต 10 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.88 อยู่ในระดับต้องการพัฒนา ส่วนนักกีฬาประเภทบุคคลเขต 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.18 อยู่ในระดับต้องการพัฒนา, เขต 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.03 อยู่ในระดับต้องการพัฒนา และเขต 10 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.75 อยู่ในระดับต้องการพัฒนา 2. นักกีฬาประเภททีมและนักกีฬาประเภทบุคคล มีความเข้มแข็งทางจิตใจรวมทุกด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักกีฬาเขต 3, เขต 4 และเขต 10 มีความเข้มแข็งทางจิตใจรวมทุกด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเภทกีฬา กับเขตการแข่งขันที่มีผลต่อความเข้มแข็งทางจิตใจรวมทุกด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study and compare the mental toughness of team and individual sport athletes participated for the region 3, 4 and 10 in the thirtieth national sport competition, B.E.2540. In addition, the interaction between sport types and the participating regions were examined. Samples were 65 team sport athletes and 96 individual sport athletes of the region 3, 64 team sport athletes and 94 individual sport athletes of the region 4 and 73 team sport athletes and 108 individual sport athletes of the region 10. The Loehr Mental Toughness Inventory posed the index of congruence of 0.97 and reliability coefficient of 0.90 was used as the tool of the study. The collected data were analyzed in terms of means, standard deviations and two-way analysis of variance. The results indicated that: 1. The mental toughness of team sport athletes participated for the region 3 was the average of 22.07 evaluated at the level of room for improvement, the region 4 was the average of 20.94 evaluated at the level of room for improvement and the region 10 was the average of 21.88 evaluated at the level of room for improvement. Moreover, the mental toughness of individual sport athletes participated the region 3 was the average of 22.18 evaluated at the level of room for improvement, the region 4 was the average of 22.03 evaluated at the level of room for improvement and the region 10 was the average of 21.75 evaluated at the level of room of improvement. 2. The mental toughness of team and individual sport athletes was not significantly different at the .05 level. 3. The mental toughness of athletes participated in the region 3, 4 and 10 was not significantly different at the .05 level. 4. There were no interaction between sport types and the participating regions.en
dc.format.extent823411 bytes-
dc.format.extent811306 bytes-
dc.format.extent1369650 bytes-
dc.format.extent732422 bytes-
dc.format.extent929081 bytes-
dc.format.extent907912 bytes-
dc.format.extent890191 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกีฬาแห่งชาติen
dc.subjectกีฬา -- แง่จิตวิทยาen
dc.subjectความเข้มแข็งทางจิตใจen
dc.titleการศึกษาความเข้มแข็งทางจิตใจของนักกีฬา ที่เข้าร่วมในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30en
dc.title.alternativeA study of mental toughness of the athletes participating in the Thirtieth National Sport Competitionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSilpachai.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amornrat_Si_front.pdf804.11 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Si_ch1.pdf792.29 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Si_ch2.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Si_ch3.pdf715.26 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Si_ch4.pdf907.31 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Si_ch5.pdf886.63 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Si_back.pdf869.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.