Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธงชัย พรรณสวัสดิ์-
dc.contributor.authorโกมล เอี่ยมเสมอ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-03-04T07:34:31Z-
dc.date.available2010-03-04T07:34:31Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743314377-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12107-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาหาประสิทธิภาพการกำจัดสีย้อมรีแอกทีฟชนิดอาโซโดยกระบวนการเอสบีอาร์แบบแอนแอโรบิก-แอโรบิก ซึ่งใช้ถังปฏิกิริยาขนาด 12 ลิตร มีอัตราส่วนน้ำที่เติม (Vf) ต่อน้ำที่ค้างถัง (V0) เท่ากับ 2:1 และมีช่วงเวลาแอนแอโรบิก, แอโรบิก และจมตัวเท่ากับ 18, 5 และ 1 ชม. ตามลำดับ ในการทดลองได้มีการใช้สารอาหารที่ส่งเสริมและไม่ส่งเสริมการกำจัดฟอสฟอรัสทางชีวภาพ (EBPR) โดยมีการแปรผันนิวเทรียนต์บรอท + โซเดียมอะซิเทต (ในรูปซีโอดี) ที่ 500+0, 350+150, 250+250 และ 0+500 มก./ล. เพื่อเป็นสารอาหารที่ส่งเสริมการโตของ PAOs และมีการใช้กลูโคสที่ 500 มก./ล.ซีโอดี (การทดลองชุด G1) เพื่อเป็นสารอาหารที่ส่งเสริมการโตของ GAOs ทั้งนี้ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเข้าเท่ากับ 50 และ 15 มก./ล. ตามลำดับ (COD:N:P = 100:10:3) นอกจากนี้ในการทดลองที่ใช้กลูโคสเป็นสารอาหารนั้นยังมีการแปรผันไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเข้าให้เท่ากับ 25 และ 5 มก./ล. ตามลำดับ (การทดลองชุด G2) (COD:N:P = 100:5:1) เพื่อให้แน่ใจว่าไม่เกิดเป็นกระบวนการอีบีพีอาร์และส่งเสริมให้เกิด GAOs ขึ้นในระบบ และมีการแปรผันช่วงเวลาแอนแอโรบิก, แอโรบิก และจมตัวให้เท่ากับ 6, 5 และ 1 ชม. (การทดลองชุด G3) เพื่อศึกษาผลของช่วงเวลาแอนแอโรบิกที่มีต่อระบบ โดยทุกชุดทดลองใช้สี Remazol Black B ที่ความเข้มข้น 10 มก./ล. และควบคุมอายุสลัดจ์เท่ากับ 8 วัน เมื่อระบบเข้าสู่สถานะคงตัวพบว่าการทดลองชุดนิวเทรียนต์บรอท+โซเดียมอะซิเทตที่ 500+0, 350+150, 250+250 และ 0+500 และการทดลองชุด G1, G2 และ G3 มีประสิทธิภาพการกำจัดสีเท่ากับร้อยละ 73.3, 71.7, 71.4, 70.6, 67.8, 66.3 และ 63.1 ในหน่วย SU และเท่ากับร้อยละ 76.7, 73.4, 73.0, 69.0, 66.2, 64.4 และ 59.0 ในหน่วย ADMI ตามลำดับ ผลการทดลองแสดงว่าชนิดของสารอาหารและเวลาแอนแอโรบิกมีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดสีของระบบ กล่าวคือการใช้นิวเทรียนต์บรอท+โซเดียมอะซิเทตให้ผลดีกว่าการใช้กลูโคสเล็กน้อย และที่เวลาแอนแอโรบิกนานกว่า (18 vs 6 ชม.) ระบบมีการลดสีที่ดีกว่า แต่ประสิทธิภาพของ PAOs และ GAOs ในการกำจัดสีไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ อนึ่งประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีทุกชุดทดลองมีค่าสูงโดยอยู่ระหว่างร้อยละ 91.7-97.3 ประสิทธิภาพการกำจัดทีเคเอ็นเท่ากับร้อยละ 97.6, 96.3, 96.6, 42.6, 92.6, 90.7 และ 95.6 ตามลำดับ โดยที่ในการทดลองชุด 0+500 นั้น การลดสารคาร์บอนอินทรีย์ในขั้นตอนแอนแอโรบิกทำได้ไม่ดีเท่าชุดอื่น จึงมีสารคาร์บอนอินทรีย์เหลือไปเข้าขั้นตอนแอโรบิกมาก ทำให้ไม่เกิดปฏิกิริยาไนทริฟิเคชันขึ้นส่วนประสิทธิภาพการกำจัดฟอสฟอรัสเท่ากับร้อยละ 99.3, 100, 78.7, 45.9, 67.7, 98.1 และ 38.7 ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องตามทฤษฎีกับประเภทสารอาหาร, ความเข้มข้นของสารอาหารและธาตุอาหาร และสอดคล้องกับช่วงเวลาแอนแอโรบิกที่ทดลองen
dc.description.abstractalternativeThis research was to study the color removal efficiency of a 12 l anaerobic-aerobic SBR process treating an azo-reactive dye. The ratio of influent (Vf) to remaining volume (Vo) was 2:1. The anaerobic, aerobic and settling times were set at 18} 5 and 1 hr, respectively. The EBPR promoting and non-promoting substrates were used, i.e., nutrient broth+sodium acetate (in term of COD) at 500+0, 350+150, 250+250 and 0+500, as PaOs promoting substrate, and glucose (500 mg/l COD, Experiment G1), as GAOs promoting substrate. The nitrogen and phosphorus in influent were 50 mg-N/l and 15 mg-P/l, respectively. Besides, nitrogen and phosphorus in influent were also varied to be 25 mg-N/l and 5 mg-P/l (Experiment G2) (COD:N:P = 100:5:1) in order to inhibit EBPR and promote GAOs in the system. The anaerobic, aerobic and setting times were also varied to be 6, 5 and 1 hr (Experiment G3) in order to observe the effect of the anaerobic time. Remazol Black B dye at 10 mg/l concentration was used in all experiments. The sludge age of the system was controlled at 8 days. At steady state, the efficiency of color removal for the cases of nutrient broth+sodium acetate at 500+0, 350+150, 250+250 and 0+500 and experiment G1, G2 and G3 was 73.3, 71.7, 71.4, 70.6, 67.8, 66.3 and 63.1% in terms of SU and 76.7, 73.4, 73.0, 69.0, 66.2, 64.4 and 59.0% in term of ADMI, respectively. It showed that different substrates and anaerobic time had effects on the degree of color removal. The experiment using nutrient broth + sodium acetate as substrates was better in decolorisation than those with glucose. Long anaerobic time (18 vs 6 hr) was better for the color reduction. But the color removal efficiencies of PAOs and GAOs were not different. The high COD removal efficiency was in the range of 91.7-97.3% for all experiments. The efficiency of TKN removal was 97.6, 96.3, 96.6, 42.6, 92.6, 90.7 and 95.6%, respectively. In the experiment 0+500, the organic carbon removal efficiency in anaerobic stage was not as good as other cases. So high residual organic carbon was presence in the beginning of the aerobic stage and nitrification could not occur. The efficiency of phosphorus removal was 99.3, 100, 78.7, 45.9, 67.7, 98.1 and 38.7%, respectively, which was in line with the theory of substrates, concentration of substrates and nutrients and anaerobic time.en
dc.format.extent847310 bytes-
dc.format.extent727294 bytes-
dc.format.extent1475221 bytes-
dc.format.extent769591 bytes-
dc.format.extent1560457 bytes-
dc.format.extent714128 bytes-
dc.format.extent1392846 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดไนโตรเจนen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดฟอสฟอรัสen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดสีen
dc.subjectสีย้อมและการย้อมสีen
dc.titleประสิทธิภาพในการกำจัดสีของสีย้อมรีแอกทีฟชนิดอาโซโดยกระบวนการเอสบีอาร์แบบแอนแอโรบิก-แอโรบิกซึ่งมีและไม่มีสารอาหารที่ส่งเสริมกระบวนการอีบีพีอาร์en
dc.title.alternativeColor removal efficiency of an azo-reactive dye by an anaerobic-aerobic SBR process with and without EBPR promoting substratesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThongchai.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Komol_Ia_front.pdf827.45 kBAdobe PDFView/Open
Komol_Ia_ch1.pdf710.25 kBAdobe PDFView/Open
Komol_Ia_ch2.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open
Komol_Ia_ch3.pdf751.55 kBAdobe PDFView/Open
Komol_Ia_ch4.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Komol_Ia_ch5.pdf697.39 kBAdobe PDFView/Open
Komol_Ia_back.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.