Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิศรา ชูชาติ-
dc.contributor.authorอานนท์ เอื้ออุมากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2010-03-17T09:23:11Z-
dc.date.available2010-03-17T09:23:11Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12301-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิด อย่างมีวิจารณ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายระหว่างกลุ่มที่เรียนฟิสิกส์ด้วยเกมดิจิทอล กับกลุ่มที่เรียนฟิสิกส์แบบปกติ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายระหว่างกลุ่มที่เรียนฟิสิกส์ด้วยเกมดิจิทอลกับกลุ่มที่เรียนฟิสิกส์ แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2549 จากโรงเรียนวัดสุทธิวราราม จำนวน 2 ห้องเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองซึ่งเรียนฟิสิกส์ด้วยเกม ดิจิทอล และกลุ่มเปรียบเทียบซึ่งเรียนฟิสิกส์แบบปกติ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้แบบสอบการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่มีค่าความเที่ยง 0.73 และแบบสอบการคิดแก้ปัญหาที่มี ค่าความเที่ยง 0.71 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐานด้วยสถิติทดสอบ ANCOVA ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย ของคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 2. หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดแก้ ปัญหาสูง กว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe study was a quasi-experimental research. The purposes of this study were 1) to compare critical thinking ability of upper secondary school students between groups using and not using digital game in physics learning and 2) to compare problem solving ability of upper secondary school students between groups using and not using digital game in physics learning. The samples were Mathayom Suksa 4 students of Watsuthiwararam School, Bangkok at academic year 2006. The samples were divided into two groups: an experimental group which was using digital game in physics learning and a comparative group which was not using in above. The research instruments were critical thinking test with reliability at 0.73 and problem solving test with reliability at 0.71. The collected data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and tested the hypothesis by ANCOVA. The research findings were summarized as follows: 1. After the experiment, an experimental group had critical thinking ability scores higher than a comparative group at .05 level of significance. 2. After the experiment, an experimental group had problem solving ability scores higher than a comparative group at .05 level of significance.en
dc.format.extent1575636 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทยen
dc.subjectฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทยen
dc.subjectวิทยาการคอมพิวเตอร์ -- ฟิสิกส์en
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen
dc.titleผลของการใช้เกมดิจิทอลในการเรียนฟิสิกส์ที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeEffects of using digital game in physics learning on critical thinking and problem solving abilities of upper secondary school students, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAlisara.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anon_ua.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.