Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12432
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorปาริฉัตร ชฎาวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-03-31T02:27:46Z-
dc.date.available2010-03-31T02:27:46Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12432-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractศึกษาและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของกระบวนการเก็บเกี่ยวข้าวและขนส่งข้าวเปลือก ของชาวนากลุ่มตัวอย่างจากจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดบุรีรัมย์ โดยศึกษาต้นทุนและระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวและในกระบวนการขนส่ง การศึกษาได้เปรียบเทียบการเก็บเกี่ยวด้วยแรงงานคนกับการใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าว และพบว่า การใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าวเป็นวิธีที่มีขั้นตอนในการเก็บเกี่ยวที่รวดเร็วกว่าและมีค่าใช้จ่ายต่ำกว่า หากชาวนาเปลี่ยนมาใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าวแทนการใช้แรงงานคนจะเป็นการช่วยประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาที่เกิดจากการขาดแคลนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวได้อีกทางหนึ่ง ส่วนผลการวิเคราะห์กระบวนการขนส่งสามารถสรุปได้ว่า ชาวนาที่จัดการนำข้าวไปขายเลยในทันทีที่เกี่ยวข้าวเสร็จ จะเป็นกลุ่มที่เสียค่าขนส่งน้อยที่สุด สำหรับแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการเก็บเกี่ยวข้าวและขนส่งข้าวเปลือก ชาวนาควรนำเครื่องเกี่ยวนวดข้าวมาใช้แทนแรงงานคน และถ้าเป็นไปได้น่าจะจัดให้มีการรวมกลุ่มเพื่อลงทุนซื้อเครื่องเกี่ยวนวดข้าวมาใช้ร่วมกัน เพื่อช่วนลดค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยว ส่วนด้านการขนส่งสำหรับชาวนาที่ต้องนำข้าวเปลือกไปนวด นำไปตาก หรือนำไปเก็บ ถ้าเป็นไปได้สถานที่สำหรับนวดหรือตากข้าวควรอยู่จะใกล้ๆ กับที่เก็บข้าวเปลือก หรือขนส่งนำข้าวไปขายเลยหลังจากที่นวดหรือตากข้าวเสร็จ เพื่อเป็นการช่วยลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายจาการขนส่งen
dc.description.abstractalternativeTo analyze the efficiency of rice crop harvesting and transportation processes experienced by a selected group of farmers in Suphanburi and Buriram Provinces. The study investigates the costs and time incurred during the havesting process and the transportation process. The study compares the harvesting by hand and the use of rice combine harvesters and finds that the use of harvesters would be faster and less expensive. As a result, the use of harvesters would help farmers save time and cost and at the same time lessen the problems of labor shortage during the harvest season. The analysis of the transportation process shows that farmers who transport their crop for sale immediately after harvesting will experience the least transportation cost. To improve the efficiency of rice crop harvest and transportation, the farmers should consider replacing the harvesting by hand with the use of harvesters and forming a co-operative to invest in a shared harvester to save on harvesting costs. For crop transportation, farmers who need knead, dry, and store their crop should perform these tasks at the same location. Else, they should transport the crop for sale right after kneading and drying in order to minimize transportation time and cost.en
dc.format.extent2624510 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectข้าว -- แง่เศรษฐกิจen
dc.subjectข้าว -- การเก็บเกี่ยว -- เครื่องจักรกลen
dc.subjectข้าว -- เครื่องนวดen
dc.subjectข้าว -- การขนส่งen
dc.titleประสิทธิภาพของการเก็บเกี่ยวข้าวและการขนส่งข้าวเปลือกen
dc.title.alternativeEfficiency of harvesting and transportation of paddyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSompong.Si@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parichat.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.