Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12538
Title: การใช้สื่อสารมวลชนเพื่อจัดการภาวะวิกฤต : กรณีรณรงค์ต่อต้านการบริโภคผงชูรส
Other Titles: use of mass media in corporate crisis management : a case study of campaign against monosodium glutamate consumption
Authors: บุญศรี สุธรรมานุวัตน์
Advisors: ศิริชัย ศิริกายะ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: การสื่อสาร
ผงชูรส
บริโภคศึกษา
การจัดการภาวะฉุกเฉิน
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงขั้นตอนที่กลุ่มรณรงค์ต่อต้านการบริโภคผงชูรสใช้สื่อสารมวลชน ทำให้เกิดภาวะวิกฤตแก่ชมรมผู้ผลิตผงชูรสแห่งประเทศไทยและการที่ชมรมผู้ผลิตผงชูรสแห่งประเทศไทยจัดการกับภาวะวิกฤต ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาระหว่าง พ.ศ. 2524-2528 จากผลของการศึกษาพบว่า 1. ภาวะวิกฤต (Crisis) อาจเกิดขึ้นได้กับองค์กรใดๆ หากมีแรงกดดันจากสังคมซึ่งสร้างขึ้นโดย สื่อมวลชนและสาธารณชน 2. การจัดให้กลุ่มผู้นำทางความคิด (Opinion Leaders) ไปทัศนศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่นและไต้หวันเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง (Fact Finding) ให้ผลในการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารที่เป็นจริงไปสู่สื่อมวลชนและสาธารณชน 3. การสนับสนุน (Sponsorship) ให้นักวิชาการทำการวิจัยเพื่อศึกษาข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Fact) มายืนยันข้อเท็จจริง ให้ผลเป็นที่น่าพอใจ 4. การแก้ไขภาวะวิกฤตโดยใช้กระบวนการสื่อสารมวลชนต้องมีลักษณะที่เป็นการให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงซึ่งมีหลักฐานรองรับ และต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 5. การสร้างความเข้าใจกับสาธารณชนโดยใช้หลักการประชาสัมพันธ์ ต้องนำเสนอข่าวสารที่เข้าใจได้ง่าย ตรงประเด็น และกระทำอย่างต่อเนื่อง 6. การเลือกผู้นำที่เหมาะสมในการเข้าพบผู้กำหนดนโยบายในฐานะ Negotiator เป็นผลให้ได้รับความสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย
Other Abstract: This research is done qualitatively by aiming at the understanding how the campaign against monosodium glutamate consumption using mass media to cause crisis to the Seasoning Powder Manufacturer Club of Thailand (SPMCT) and how the SPMCT use the effective mass media in crisis management during 1981-1985. The findings from this research are : 1. The crisis can occur with any organization if there is sufficient pressure created by the mass media and the public. 2. Sending opinion leaders to Japan and Taiwan on fact-finding mission work in disseminating accurate data and information to the mass media and the public. 3. Sponsorship to academic research for scientific facts finding produces satisfactory result. 4. The key to handing of mass media in crisis management is by providing true and correct information with proofed evidence on a continuous basis. 5. creating a true understanding among the public with public relations measures involving easy-to-understanding and straight-to-the-point informations with continuity. 6. Suitable selection of negotiator in dealing with policy makers invariably brings about successful results as targetted.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การสื่อสารมวลชน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12538
ISBN: 9746391925
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonsri_Su_front.pdf474.02 kBAdobe PDFView/Open
Boonsri_Su_ch1.pdf731.5 kBAdobe PDFView/Open
Boonsri_Su_ch2.pdf804.57 kBAdobe PDFView/Open
Boonsri_Su_ch3.pdf414.2 kBAdobe PDFView/Open
Boonsri_Su_ch4.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open
Boonsri_Su_ch5.pdf296.35 kBAdobe PDFView/Open
Boonsri_Su_back.pdf234.73 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.