Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRungpetch Charoenvisuthiwongs-
dc.contributor.advisorKitti Pitaknitinun-
dc.contributor.authorInthira Kanchanaphibool-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2010-04-22T03:43:21Z-
dc.date.available2010-04-22T03:43:21Z-
dc.date.issued1997-
dc.identifier.isbn9746387413-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12558-
dc.descriptionThesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn Universtiy, 1997en
dc.description.abstractThe purposes of this study were to compare the actual and the expected roles and to study the current manpower situation of the hospital pharmacy supportive personnel from the perspective of hospital pharmacists in public provincial hospitals. All 755 pharmacists, including head of pharmacy departments and pharmacists, working in 92 hospitals of 12 provincial health sectors (in January 1996) were the major studied subjects. To compare the result with the perspective of hospital pharmacy technicians, sample of 97 pharmacy technicians working in 12 hospitals selected by clustered random sampling technique, one hospital from each provincial health sector, were also included in this study. Three types of self-administered survey questionnaire were mailed to subjects: one for heads of the pharmacy department, one for pharmacists, and the other for pharmacy technicians. The final response rates were 69.57% for heads of the pharmacy department, 51.28% for pharmacists, and 64.95% for pharmacy technicians. It was found that pharmacists preferred to delegate technical tasks to the trained pharmacy supportive personnel (pharmacy technicians) more than to the untrained pharmacy supportive personnel (pharmacy employees). Pharmacists expected to delegate more technical tasks to the pharmacy technicians for 7 working units of outpatient, inpatient, general production, sterile production, aseptic dispensary, inventory management and purchasing, and community service. Pharmacy technicians agreed with pharmacists' expectation for those 7 working units. For the current manpower situation, trained pharmacy supportive personnel accounted for 26.96% (pharmacy technicians 19.18% and pharmacy assistants 7.78%) and untrained for 73.04% (pharmacy employees 72.33% and personnel from other fields 0.71%) of all pharmacy supportive personnel. Pharmacists had the demand to increase the number of the pharmacy technicians for every working unit: outpatient, inpatient, general production, sterile production, aseptic dispensary, quality control, inventory management and purchasing, drug information service, community, and others. It was confirmed with the perspective of pharmacy technicians for the 6 working units of outpatient, inpatient, general production, quality control, inventory management and purchasing, and other units. The study concluded that pharmacists were willing to delegate more technical tasks to the trained pharmacy supportive personnel but facing with the problem of lacking of pharmacy technicians in the public provincial hospitals.en
dc.description.abstractalternativeการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบบทบาทในปัจจุบัน กับบทบาทที่ควรจะเป็นของบุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรม โรงพยาบาล ในทัศนคติของเภสัชกรที่ปฏิบัติงานอยู่ในกลุ่มงานเภสัชกรรม/ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน และศึกษาสถานการณ์กำลังคนในปัจจุบันของบุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดกองโรงพยาบาลภูมิภาค กระทรวงสาธารณสุข การศึกษาหลักเป็นการสำรวจทัศนคติของเภสัชกรทุกคน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาล สังกัดกองโรงพยาบาลภูมิภาคทุกโรงพยาบาล จำนวน 92 โรงพยาบาล รวม 755 คน ซึ่งแบ่งเป็น 12 เขตสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค (มกราคม 2539) การศึกษาเปรียบเทียบเป็นการสำรวจความคิดเห็นของเจ้าพนักงานเภสัชกรรม จำนวน 97 คน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาล จำนวน 12 โรงพยาบาล ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเขต โดยเลือกโรงพยาบาลจากเขตสาธารณสุขละ 1 โรงพยาบาลเป็นตัวแทน เพื่อเปรียบเทียบผลกับมุมมองของเภสัชกรที่ศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามทางไปรษณีย์แบบตอบด้วยตนเอง แบ่งเป็น 3 แบบ: สำหรับหัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม/ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน, เภสัชกร, และเจ้าพนักงานเภสัชกรรมที่ปฏิบัติงานอยู่ในกลุ่มงานเภสัชกรรม/ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน อัตราการตอบแบบสอบถามกลับสำหรับหัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม/ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน ร้อยละ 69.57 สำหรับเภสัชกร ร้อยละ 51.28 และสำหรับเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ร้อยละ 64.95 ผลการศึกษาพบว่า เภสัชกรต้องการมอบหมายงานทางเทคนิคเภสัชกรรม ให้แก่บุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลที่ผ่านการฝึกอบรมความรู้ด้านเทคนิคเภสัชกรรมมาแล้ว (เจ้าพนักงานเภสัชกรรม) มากกว่าที่จะมอบหมายให้แก่บุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลที่ไม่ได้ผ่านการฝึกอบรมความรู้ด้านเทคนิคเภสัชกรรม (ลูกจ้างในกลุ่มงานเภสัชกรรม/ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน) นอกจากนี้ เภสัชกรยังมีความคาดหวังที่จะมอบหมายงานทางเทคนิคเภสัชกรรมให้แก่เจ้าพนักงานเภสัชกรรมมากขึ้นกว่าในปัจจุบัน ในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล จำนวน 7 งาน ได้แก่ งานบริการผู้ป่วยนอก, งานบริการผู้ป่วยใน, งานผลิตยาทั่วไป, งานผลิตยาปราศจากเชื้อ, งานเตรียมผลิตภัณฑ์ปราศจากเชื้อสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย, งานบริหารเวชภัณฑ์, และงานเภสัชกรรมชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ที่มีความคิดเห็นว่าตนสามารถปฏิบัติงานทางเทคนิคเภสัชกรรมได้มากกว่าที่เภสัชกรมอบหมายให้ทำอยู่ในปัจจุบัน ในทั้ง 7 งานดังกล่าวเช่นเดียวกัน สำหรับสถานการณ์กำลังคนในปัจจุบันของบุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล พบว่า เป็นบุคลากรผู้ช่วยที่ผ่านการฝึกอบรมความรู้ด้านเทคนิคเภสัชกรรมมาแล้ว ร้อยละ 26.96(เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ร้อยละ 19.18 และผู้ช่วยเภสัชกร ร้อยละ 7.78) และบุคลากรผู้ช่วยที่ไม่ได้ผ่านการฝึกอบรมความรู้ด้านเทคนิคเภสัชกรรม ร้อยละ 73.04 (ลูกจ้าง ร้อยละ 72.33 และบุคลากรจากสาขาอื่น ร้อยละ 0.71) ของบุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด ทั้งนี้ เภสัชมีความต้องการเจ้าพนักงานภสัชกรรมจำนวนมากขึ้นกว่าที่มีอยูในปัจจุบันในทุกๆงาน ได้แก่ งานบริการผู้ป่วยนอก, งานบริการผู้ป่วยใน, งานผลิตยาทั่วไป, งานผลิตยาปราศจากเชื้อ, งานเตรียมผลิตภัณฑ์ปราศจากเชื้อสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย, งานวิเคราะห์คุณภาพยา, งานบริหารเวชภัณฑ์, งานข้อมูลข่าวสารทางยา, งานเภสัชกรรมชุมชน และงานอื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของเจ้าพนักงานเภสัชกรรมใน 6 งาน ได้แก่ งานบริการผู้ป่วยนอก, งานบริการผู้ป่วยใน, งานผลิตยาทั่วไป, งานิวเคราะห์คุณภาพยา, งานบริหารเวชภัณฑ์และงานอื่นๆ การศึกษานี้สรุปว่า เภสัชกรมีความตั้งใจที่จะมอบหมายงานเทคนิคเภสัชกรรมให้แก่บุคลากรผู้ช่วยที่ผ่านการฝึกอบรมความรู้ทางด้านเทคนิคเภสัชกรรมมาแล้ว แต่ยังประสบปัญหาความขาดแคลนเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ที่ปฎิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลสังกัดกองฌรงพยาบาลภูมิภาคen
dc.format.extent597118 bytes-
dc.format.extent384057 bytes-
dc.format.extent1208535 bytes-
dc.format.extent452108 bytes-
dc.format.extent2333074 bytes-
dc.format.extent290868 bytes-
dc.format.extent3080729 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universtiyen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectPharmacistsen
dc.subjectPharmacy techniciansen
dc.subjectHospital pharmaciesen
dc.titlePharmacists' attitude on the roles of pharmacy supportive personnel in hospitals under the Provincial Hospital Division, Ministry of Public Healthen
dc.title.alternativeทัศนคติของเภสัชกรต่อบทบาทบุคลากรผู้ช่วยในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล สังกัดกองโรงพยาบาลภูมิภาค กระทรวงสาธารณสุขen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Science in Pharmacyes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplinePharmacyes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRungpetch.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Inthira_Ka_front.pdf583.12 kBAdobe PDFView/Open
Inthira_Ka_ch1.pdf375.06 kBAdobe PDFView/Open
Inthira_Ka_ch2.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Inthira_Ka_ch3.pdf441.51 kBAdobe PDFView/Open
Inthira_Ka_ch4.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open
Inthira_Ka_ch5.pdf284.05 kBAdobe PDFView/Open
Inthira_Ka_back.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.