Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรรเพชร ชื้อนิธิไพศาล-
dc.contributor.authorอรวินท์ จันทร์คำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-06-18T08:34:16Z-
dc.date.available2010-06-18T08:34:16Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12932-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการจัดการโครงสร้างข้อมูลแผนที่ภาพมีความจำเป็นสำหรับระบบให้บริการข้อมูลแผนที่ภาพขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านความเร็วของการให้บริการ เช่น NASA, Microsoft และ Google แต่เทคนิคการจัดการโครงสร้างของผู้ให้บริการเหล่านี้ไม่เป็นที่เผยแพร่ ขณะที่โปรแกรม Map Server ให้บริการทั้งเชิงพาณิชย์และรหัสเปิดไม่มีเทคนิคเฉพาะสำหรับจัดการกับข้อมูลแผนที่ภาพขนาดใหญ่ วิทยานิพนธ์นี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาและวิจัย วิธีการออกแบบโครงสร้าง การบริหารจัดการชุดข้อมูลแผนที่ภาพโดยวิธีการจัดแบ่งข้อมูลภาพใหม่ นอกจากนี้ได้ใช้วิธีการจัดการโครงสร้างข้อมูลภาพรูปแบบทั่วไปอีก 3 รูปแบบ คือ การสร้างพีรามิดภายใน การสร้างพีรามิดภายนอก และการแบ่งส่วนข้อมูล พบว่าขนาดของข้อมูลที่ได้จากการจัดแบ่งข้อมูลภาพใหม่มีขนาดเล็กกว่าขนาดของข้อมูลภาพต้นฉบับประมาณ 10 เท่า ซึ่งแตกต่างจากข้อมูลที่ได้จากการจัดการโครงสร้างข้อมูลภาพรูปแบบทั่วไป 3 รูปแบบข้างต้นที่มีขนาดของข้อมูลเพิ่มขึ้น และเมื่อนำข้อมูลภาพที่มีการจัดการโครงสร้างข้อมูลทั้ง 4 รูปแบบ รวมทั้งข้อมูลภาพต้นฉบับมาทดสอบการแสดงผลภาพด้วย Map Server ได้แก่ Minnesota Mapserver, ArcIMS และ Geoserver เพื่อทำการวัดประสิทธิภาพเปรียบเทียบการเผยแพร่ผ่านเครือข่าย ปรากฏผลอย่างชัดเจนว่าความเร็วเฉลี่ยในการแสดงผลภาพของข้อมูลภาพที่ผ่านการจัดเตรียมตามวิธีการจัดแบ่งข้อมูลภาพใหม่ มีความเร็วกว่าข้อมูลต้นฉบับและข้อมูลภาพที่ถูกจัดเตรียมโดยวิธีการจัดการโครงสร้างข้อมูลภาพรูปแบบทั่วไปทั้ง 3 รูปแบบ และใช้ได้ดีกับ Minnesota Mapserver และ ArcIMS ในทุกความละเอียดจุดภาพเมื่อเปรียบเทียบกับ Geoserveren
dc.description.abstractalternativeImagery data handling and data preparation for online publishing datasets are important and necessary in order to increase the efficiency of data distribution. Apart from typical map server solution, These can be seen in large international organizations that worldwide publish a huge amount of imagery dataset e.g. NASA, Microsoft and Google. This thesis presents the results of study and research in the methodology to prepare large imagery datasets by designing data structure and resampling data using pyramidal tiling concept. The data structures of internal pyramid, external pyramid and internal tile are also used and tested in this research to compare with such designed resampling data structure. The size of designed resampling dataset is about 10 times smaller than original dataset, whereas other solutions are larger. These prepared datasets are tested with map servers, including Minnesota Mapserver, ArcIMS and Geoserver, to measure the performance of data distribution. The result shows that the speed of map response from designed resampling dataset is faster than the original dataset and others, such dataset is better supported in Minnesota Mapserver or ArcIMS rather than Geoserver.en
dc.format.extent3616249 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.327-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์en
dc.subjectภูมิศาสตร์ -- การประมวลผลข้อมูลen
dc.subjectบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en
dc.titleการศึกษา ออกแบบ และพัฒนาระบบจัดการชุดข้อมูลภาพขนาดใหญ่ สนับสนุนการเผยแพร่ข้อมูลปริภูมิออนไลน์en
dc.title.alternativeThe study, design and development of terabyte imagery dataset management system supporting online spatial data disseminationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.327-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Orawin_ch.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.