Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณา สถาอานันท์-
dc.contributor.authorศริญญา อรุณขจรศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-07-09T08:07:13Z-
dc.date.available2010-07-09T08:07:13Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743338268-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13017-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและความเป็นจริงในลัทธิเต๋าและโต้แย้งทัศนะที่ตีความว่าคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นวิมัตินิยมทางภาษา จากการศึกษาได้ข้อสรุปว่าคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงมองว่าการกำหนดนามคือการทำให้สิ่งที่นามบ่งถึงมีสภาวะและคงที่ตายตัว แต่ความเป็นจริงหรือ "เต๋า" เป็นกระบวนการของการแปรเปลี่ยนไปมาระหว่าง "การมีสภาวะ" และ "การไร้สภาวะ" ดังนั้นภาษาจึงไม่สามารถเป็นกระจกที่สะท้อนความเป็นจริงได้ นาม "เต๋า" จึงเป็นเพียงนามสมมติเท่านั้น ส่วนคัมภีร์จวงจื๊อมองว่าภาษามีข้อจำกัดและแปรเปลี่ยนได้ตามข้อกำหนดของสังคม อีกทั้งความเป็นจริงก็แปรเปลี่ยนลื่นไหลเป็นกระแสต่อเนื่องไม่มีการ "เริ่มต้น" และ "สิ้นสุด" ดังนั้นคัมภีร์จวงจื๊อจึงมองภาษาเป็นเหมือน "อาคันตุกะ" ของความเป็นจริง แสดงว่าภาษาสามารถบ่งถึงความเป็นจริงได้ แต่ไม่แน่นอนคงที่ เพราะภาษาเพียงแวะเวียนมา และก็ต้องจากความเป็นจริงไป แม้ลัทธิเต๋ามองว่าภาษาไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงหรือ "เต๋า" ได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าภาษาไม่สามารถเป็นเครื่องมือนำไปสู่ความรู้และวิถีที่แท้ได้เลย จนต้องละทิ้งการใช้ภาษาไปลัทธิเต๋ามุ่งเน้นวิพากษ์วิจารณ์ "แนวทาง" หรือ "จารีต" การใช้ภาษาตามขนบความเชื่อเดิมหรือแบบขงจื๊อ มากกว่าจะเสนอให้ละทิ้งการใช้ภาษา คัมภีร์เต๋าเต๋อจิงมองว่าเราสามารถกำหนดภาษาเพื่อสื่อความรู้และความจริงได้ แต่การใช้ภาษานั้นจะต้องสอดคล้องกลมกลืนกับวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ส่วนคัมภีร์จวงจื๊อมองว่าเราสามารถใช้ภาษาสื่อถึงความรู้และความจริงเป็นได้ แต่ต้องตระหนักรู้ในข้อจำกัดของภาษา และฝึกฝนจนบรรลุภาวะที่ "ลืมถ้อยคำ"en
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes arguments against the prevalent interpretation of Tao Te Ching and Chuang Tzu as advocating linguistic skepticism. This study concludes that in the Tao Te Ching, naming freezes that which is named into a fixed being with definite meaning. But reality of "Tao" is the process of becoming between "being" and "non-being". Therefore, language is not able mirror reality. The name "Tao" is just a makeshift description. In the Chuang Tzu language is regarded as inherently limited and is constantly transformed in and through human conventions. Moreover, reality is continuous process of change without "a beginning" or "an end". Accordingly, in the Chuang Tzu language is like a "guest" of reality. This indicates that language can point to reality but it is not permanent because language just shows up, and then it slip away from reality. Eventhough Taoism regards that language can not reflect reality of "Tao", it does not mean that language can not be a means through which knowledge can be acquired to the extent that language use must be abandoned. Taoism critically examines the Confucian theory of language rather than abandoning the use of language. In the Tao Te Ching language can be used to communicate the truth, but it must be used in harmony with the way of people in society. In the Chuang Tzu language can be used to communicate knowledge and reality, but we need to realize the limitation of language and we must practice until achieving a state of "verbal forgetfulness".en
dc.format.extent404293 bytes-
dc.format.extent281627 bytes-
dc.format.extent1910257 bytes-
dc.format.extent3872936 bytes-
dc.format.extent4423870 bytes-
dc.format.extent386983 bytes-
dc.format.extent432100 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.241-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปรัชญาเต๋าen
dc.subjectภาษา -- ปรัชญาen
dc.subjectความจริงen
dc.subjectปรัชญาจีนen
dc.subjectเต๋าเต๋อจิงen
dc.subjectจวงจื๊อen
dc.titleภาษาและความเป็นจริงในคัมภีร์ เต๋าเต๋อจิง และคัมภีร์จวงจื๊อen
dc.title.alternativeLanguage and reality in the Tao Te Ching and Chuang Tzuen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineปรัชญาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwanna.Sat@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.241-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarinya_Ar_front.pdf394.82 kBAdobe PDFView/Open
Sarinya_Ar_ch1.pdf275.03 kBAdobe PDFView/Open
Sarinya_Ar_ch2.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Sarinya_Ar_ch3.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open
Sarinya_Ar_ch4.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open
Sarinya_Ar_ch5.pdf377.91 kBAdobe PDFView/Open
Sarinya_Ar_back.pdf421.97 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.