Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorวิธินี วรรณสกล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-07-20T06:37:35Z-
dc.date.available2010-07-20T06:37:35Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743345574-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13066-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ทัศนคติเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เพื่อหาความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้มีจำนวนทั้งสิ้น 408 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยการหาความแตกต่างโดยใช้ทีเทสต์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจจากสื่อประเภทต่างๆ ต่างกัน 2. กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่างกัน มีพฤติกรรมการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจต่างกัน 3. การเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจากสื่อมวลชนและสื่อบุคคลมีความสัมพันธ์กับทัศนคติการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ 4. การเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจากสื่อมวลชน สื่อเฉพาะกิจ และสื่ออินเตอร์เน็ต มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ 5. ความถี่ในการท่องเที่ยวเป็นตัวแปรที่สามารถอธิบายพฤติกรรมการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจได้ดีที่สุด ส่วนตัวแปรการเปิดรับข่าวสารประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวสามารถอธิบายพฤติกรรมการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจได้ในอันดับที่ 4 เท่านั้นen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to explore the exposure to tourism public information, attitude toward tourism during economic recession. The relationship among tourism behavior, exposure and attitude toward tourism of people in Bangkok. Sample sizes of 408 respondents were Bangkok residents. The data were analyzed by using percentage, mean, t-test, One Way ANOVA, Pearson's Product Moment Correlation and Multiple Regression Analysis. The results of the study are as follows: 1. People with different gender, age, status, education, occupation and income were significantly different in exposure to tourism public information. 2. People with different age, status, education, occupation and income were significantly different on tourism behavior during economic recession. 3. Exposure to tourism public information via mass media and interpersonal contact correlated significantly with tourism attitude during economic recession. 4. Exposure to tourism public information via mass media, specialized media and internet correlated significantly to tourism behavior during economic recession. 5. High frequency of touring best explained tourism behavior and exposure to tourism public information was not the variable best explained tourism behavior during economic recession.en
dc.format.extent612266 bytes-
dc.format.extent514143 bytes-
dc.format.extent1751686 bytes-
dc.format.extent500769 bytes-
dc.format.extent1589979 bytes-
dc.format.extent1082315 bytes-
dc.format.extent1150729 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.336-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการท่องเที่ยว -- การประชาสัมพันธ์en
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectวิกฤตการณ์การเงินen
dc.subjectอุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทยen
dc.titleการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจen
dc.title.alternativeExposure to tourism public information and tourism behavior during economic recessionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanawadee.b@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.336-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Witinee_Wa_front.pdf597.92 kBAdobe PDFView/Open
Witinee_Wa_ch1.pdf502.09 kBAdobe PDFView/Open
Witinee_Wa_ch2.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Witinee_Wa_ch3.pdf489.03 kBAdobe PDFView/Open
Witinee_Wa_ch4.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Witinee_Wa_ch5.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Witinee_Wa_back.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.