Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13120
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลน้อย ตรีรัตน์-
dc.contributor.authorชวพงษ์ นุ้ยสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-07-28T05:49:59Z-
dc.date.available2010-07-28T05:49:59Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13120-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการผลิต สมการการผลิตและต้นทุนจากการผลิต รวมทั้งวิเคราะห์ ถึงปัญหาและอุปสรรคในการผลิตสูบู่สมุนไพรในโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์โดยทำการออกแบบ สอบถามสัมภาษณ์ผู้ผลิตสบู่สมุนไพรในโครงการฯ 33 ราย เพื่อศึกษาถึงการผลิตและสมการการผลิตของ ผู้ผลิตสบู่ก้อน 19 ราย และสบู่เหลว 23 ราย ทางด้านต้นทุน ศึกษาเฉพาะผู้ผลิตในจังหวัดนครศรีธรรมราช 5 ราย แบ่งเป็นผู้ผลิตสบู่ก้อน 3 ราย และสบู่เหลว 3 ราย โดยใช้สมการการผลิตแบบคอบบ์ดักลาส จากการ ศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ผลิตสบู่สมุนไพรส่วนใหญ่เป็นการรวมกลุ่มของชาวบ้านทำการผลิตสบู่เป็น อาชีพเสริม อาชีพหลักคือเกษตรกร ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินการกิจการของวิสาหกิจ ชุมชนผู้ผลิตสบู่สมุนไพร คือ คุณภาพสินค้าต่ำ ขาดความรู้ทางด้านการตลาดและช่องทางจัดจำหน่าย มีน้อย เมื่อวิเคราะห์สมการการผลิตพบว่า ถ้าเพิ่มปัจจัยทุน 1 บาท หรือเพิ่มชั่วโมงแรงงานขึ้น 1 ชั่วโมง จะผลิตสบู่ก้อนได้เพิ่มขึ้น 0.00471 และ 0.75664 กิโลกรัม ตามลำดับ ผลิตภาพของแรงงานเฉลี่ยใน การผลิตสบู่ก้อนคือ 0.911231 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ในส่วนของสบู่เหลว ปัจจัยการผลิตที่มีความสำคัญ ในการเพิ่มปริมาณสบู่ปัจจัยทุนและแรงงาน ถ้าเพิ่มปัจจัยทุน 1 บาท หรือเพิ่มชั่วโมงแรงงานขึ้น 1 ชั่วโมง จะผลิตสบู่ก้อนได้เพิ่มขึ้น 0.01117 และ 1.74142 ลิตร ตามลำดับ ผลิตภาพของแรงงานเฉลี่ยในการผลิต สบู่เหลวคือ 1.29395 ลิตรต่อชั่วโมง ในด้านต้นทุน พบว่าต้นทุนการผลิตสบู่ก้อนและสบู่เหลวมีสัดส่วน ของปัจจัยแปรผันมากกว่าปัจจัยคงที่ ทั้งนี้มาจาก ค่าสารเคมี ค่าบรรจุภัณฑ์ และต้นทุนทางการตลาด ซึ่งผู้ผลิตแต่ละรายมีข้อได้เปรียบและเสียเปรียบแตกต่างกันไป โดยปัจจัยที่ได้เปรียบประกอบด้วย ขนาดการผลิตที่ใหญ่ ปัจจัยการผลิตมีราคาถูกและประสบการณ์ในการทำธุรกิจen
dc.description.abstractalternativeThis study aims to analyze the production function and the production cost, as well as identity the problems and obstacles in the herbal soap business in one tambon one product project. For estimating Cobb Duglas's production function, data was coleacted by conducting survey from the 33 herbal soap producers; 19 samples for bar soap and 23 samples for liquid soaps. For the case study of the production cost, 5 samples in Nakhonsrithammarat province were investigated. The study shows that the groups of samples of the herbal soap producers produce the herbal soap for their part time job and their main jobs are in the agriculture. The problems and obstacles of this business are the low quality, lack of knowledge in marketing and less distribution channel. For the production function of bar soap, the marginal products of capital and labor are 0.00471 and 0.75664 respectively. The productivity of labor is 0.911231 kilogram/hour. In the production of liquid soap, the marginal products of capital and labor are 0.01117 and 1.74142 respectively. The productivity of labor is 1.29395 liter/hour. For the cost analysis of bar soap and liquid, the variable costs of bar soap and liquid soap are higher than the fixed costs. The main variable costs are chemical, packaging and marketing cost. Each producer has the different advantages and disadvantages. The advantage factors are large scale production, cheap raw materials, as well as their experiences in the business.en
dc.format.extent2222454 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.264-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสบู่ -- ต้นทุนการผลิตen
dc.subjectโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์en
dc.titleการผลิตและต้นทุนการผลิต ผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพร ในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์en
dc.title.alternativeThe production and cost of herbal soap in one tambon one product project (OTOP)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNualnoi.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.264-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chawapong_Nu.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.