Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13686
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เนาวนิตย์ สงคราม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-10-19T04:32:57Z | - |
dc.date.available | 2010-10-19T04:32:57Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13686 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาองค์ประกอบและขั้นตอนการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 2. สร้างรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญา บัณฑิต 3. ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต และ4.นำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต กลุ่มตัวอย่างได้แก่ 1. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานและการสร้างความรู้ จำนวน 5 ท่าน 2. นิสิตที ลงทะเบียนเรียนวิชา 272318 การผลิตวัสดุการสอนสำหรับเครื่องฉายและเครื่องเสียง จำนวน 19 คน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบวัดการเรียนรู้เป็นทีม แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ แบบประเมินนวัตกรรม แบบสัมภาษณ์ผู้เรียนเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบฯ แบบสัมภาษณ์กลุ่มผู้เรียนที่มีคะแนนนวัตกรรมมากที่สุดและน้อยที่สุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ค่าที โดยใช้ค่าสถิตินอนพาราเมตริกส์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื อสร้างนวัตกรรมของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตมี 7 องค์ประกอบและ 10 ขั่นตอน 2. กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการเรียนรู้เป็นทีมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 3. กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 4. นวัตกรรมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับดีมากจำนวน 1 กลุ่ม ระดับดี จำนวน 3 กลุ่ม 5. กลุ่มที่มีคะแนนนวัตกรรมมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์สูงกว่ากลุ่มผู้เรียนที่มีคะแนนนวัตกรรมน้อยที่สุด 6. กลุ่มที่มีคะแนนนวัตกรรมมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยความคิดริเริ่ม ความคิดยืดหยุ่น และความคิดคล่องแคล่วสูงกว่ากลุ่มผู้เรียนที่มีคะแนนนวัตกรรมน้อยที่สุด 7. ผลการสัมภาษณ์ผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบฯพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพอใจต่อรูปแบบฯ 8. รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตประกอบด้วย 7 องค์ประกอบได้แก่ ได้แก่ 1. ความรู้ความสามารถ 2. ประสบการณ์การเรียนรู้ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร 5. ทีม 6. แรงจูงใจ 7. ภาวะผู้นำ ขั้นตอนประกอบด้วย 4 ขั้นตอนได้แก่ 1. การเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน 2. การแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ความคิดเห็น 3. การทดลองใช้นวัตกรรม 4. การนำเสนอผลงานนวัตกรรม | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1. to investigate factors and process of blended learning model with team learning and creative promotion process. 2. to create blended learning model with team learning and creative promotion process for innovation creation of undergraduate students. 3. to study the results of blended learning model with team learning and creative promotion process for innovation creation of undergraduate students. 4. to present blended learning model with team learning and creative promotion process for innovation creation of undergraduate students. The subjects consisted of five specialists in blended learning and knowledge creation and 19 undergraduate students registered in 2726318 Production of Sound and Projected Materials, faculty of Education, Chulalongkorn University. They were divided into four teams which individual studied first major in educational technology but second major was different. All groups were taught by using blended learning model with team learning and creative promotion process. Instruments in this research consisted of innovation evaluation form, team learning style test, attitude questionnaire, and creativity test. The data were analyzed by average, standard deviation, and t-test which were presented by tables and graphs. The results of this study revealed that: 1. The specialists in blended learning and knowledge creation indicated that blended learning model with team learning and creative promotion process for innovation creation of undergraduate students consisted of seven components and ten steps. 2. A t-test comparison of post-test scores and pretest scores of the samples showed statistically significant difference at.01 level between team learning. 3. A t-test comparison of post-test scores and pretest scores of the samples showed statistically significant difference at.01 level between creativity. 4. One group had excellence level of innovation and three groups had good level of innovation 5. The group which was the highest scores of innovation was higher scores of creativity than the group which the lowest scores of innovation. 6. The group which was the highest scores of innovation was higher scores of originality, fluency, flexibility than the group which lowest scores of innovation. 7. The samples revealed that they were satisfied blended learning model with team learning and creative promotion process for innovation creation of undergraduate students. 8. The blended learning model with team learning and creative promotion process for innovation creation of undergraduate students consisted of seven components. They are 1. Knowledge and Abilities 2. Experiences 3. Creativity 4. Information and communication Technology 5. Team 6. Motivation and 7. Leadership. The four steps of innovation creation consisted of 1. Preparation for learners 2. Sharing knowledge experiences and opinions 3. Trying out innovation 4. Presentation innovation. | en |
dc.description.sponsorship | เงินทุนวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2552 | en |
dc.format.extent | 6597288 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การเรียนแบบผสมผสาน | en |
dc.subject | การเรียนการสอนบนเว็บ | en |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมและกระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต | en |
dc.type | Technical Report | es |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
naowanit.pdf | 3.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.