Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร-
dc.contributor.authorจุฑาธิป อินทรเรืองศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-13T10:06:01Z-
dc.date.available2011-01-13T10:06:01Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741426313-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14410-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารเพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 16 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel คำนวณค่ามัธยฐาน ฐานนิยม ผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ทำการคัดเลือกตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐาน ตั้งแต่ระดับมากขึ้นไปและเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ (Md is more than or equal to 3.50, IR is less than 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญรวม ทั้งสิ้น 227 วัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ องค์ประกอบของความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์มี 6 องค์ประกอบ พร้อมตัวชี้วัดดังนี้ 1.ด้านการจัดองค์กร ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วัด 2.ด้านบุคลากร ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด 3. ด้านการตลาด ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด 4. ด้านผู้รับบริการ ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด 5. ด้านกระบวนการทำงาน ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด 6. ด้านสินค้า/บริการ ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the innovation organization indicators of nursing department, regional hospital and medical centers. Two main steps were conducted as follows: 1) Literature review was analyzed for conceptual research framework and 2) The innovation organization indicators of nursing department, regional hospital and medical centers were studied by using Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) technique. Data consisted of information from a panel of 16 experts. Item were selected based on the following criteria: a) median of appropriateness and practicality of more than 3.50 b) inter quartile range less than 1.50, and c) mode-median less than 1.00. Total time for date collection was 227 days. Research findings were as follows; The innovation organization indicators of nursing department, regional hospital and medical centers composed of 6 components. The components were consisted of indicators as follows: 1.Organizing 7 indicators 2. Human resource 3 indicators 3. Market plan 3 indicators 4. Customer 5 indictors 5. Process 5 indicators 6. Goods/Service 5 indicatorsen
dc.format.extent1891815 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.862-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนวัตกรรมทางการแพทย์ -- การประเมินen
dc.subjectการพยาบาล -- การประเมินen
dc.titleการศึกษาตัวชี้วัดความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์en
dc.title.alternativeA study of innovation orgaization indicators of nursing department,regional hospital and medical centersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.862-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jutathip.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.