Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.advisorยุทธนา ตุ้มน้อย-
dc.contributor.authorกนกพร ธรฤทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-14T06:48:17Z-
dc.date.available2011-01-14T06:48:17Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14428-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractได้ทำการวิเคราะห์นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในตัวอย่างแครอต มันสำปะหลัง และหัวไชเท้า จากแหล่งเพาะปลูกต่างๆ กัน โดยใช้วิธีแกมมาเรย์สเปกโตรเมตรีที่ใช้หัววัดรังสีเจอร์มาเนียมบริสุทธิ์สูงที่มีประสิทธิภาพสัมพัทธ์ 20% แต่ละตัวอย่างต้องผ่านการอบที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสวันละ 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 วัน แล้วบรรจุลงในบีกเกอร์แบบมาริเนลลี หลังจากนั้นนำไปวัดรังสีแกมมาเป็นเวลา 30,000 วินาที เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานสองชนิดคือ สารมาตรฐาน IAEA Soil-375 และสารมาตรฐานนิวไคลด์กัมมันตรังสีผสมของบริษัท Eckert & Ziegler ผลการวิจัยพบว่ามี Ra-226 และ Ac-228 ในระดับต่ำในบางตัวอย่าง ซึ่งอยู่ในช่วง 0-26.4 และ 0-5.8 Bq/kg โดยน้ำหนักแห้งตามลำดับ ในขณะที่พบ K-40 ในทุกตัวอย่าง อยู่ในช่วง 230-2150 Bq/kg โดยน้ำหนักแห้ง โดยพบว่าตัวอย่างหัวไชเท้ามี K-40 มากกว่าในตัวอย่างแครอตและมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบว่าตัวอย่างมันสำปะหลัง 2 ชนิดคือ ชนิดที่ใช้เป็นอาหารได้โดยตรงและชนิดที่ใช้ทำแป้งมันลำปะหลัง มี K-40 แตกต่างกันด้วยen
dc.description.abstractalternativeNatural radionuclides in carrot, tapioca and Chinese radish samples collected from different planting locations were analyzed by gamma-ray spectrometry using a high purity germanium (HPGe) detector with a relative efficiency of 20%. Each sample was dried in an oven at 100 degree celsius for 8 hours per day for 3 days then contained in a Marinelli beaker. It was then counted for 30,000 seconds in comparison to the IAEA-375 soil standard and a multiradionuclides standard from Eckert & Ziegler company. Ra-226 and Ac-228 were found in some samples at trace level in the range of 0-26.4 and 0-5.8 Bq/kg dry weight respectively while K-40 was found in all samples in the range of 230-2150 Bq/kg dry weight. The result presented K-40 in Chinese radish was higher than in carrot and tapioca samples. In addition, the present work showed the different levels of potassium contents in two different type of tapioca samples including edible and starch producing types.en
dc.format.extent1467879 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.604-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหัวไชเท้าen
dc.subjectแครอทen
dc.subjectมันสำปะหลังen
dc.subjectกัมมันตภาพรังสีen
dc.subjectแกมมาเรย์สเปกโตรเมตรีen
dc.titleการวิเคราะห์หาธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ตามธรรมชาติในแครอต มันสำปะหลังและหัวไชเท้า โดยวิธีแกมมาเรย์สเปกโตรสโคปีen
dc.title.alternativeAnalysis of natural radioactivity in carrot, tapioca and chinese radish by gamma-ray spectroscopyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfnenck@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.604-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokporn_th.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.