Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14749
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorUkrist Pathmanand-
dc.contributor.authorHerbert, Severin Jacques-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2011-03-07T10:51:11Z-
dc.date.available2011-03-07T10:51:11Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14749-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006en
dc.description.abstractSouthern Thailand has longed resisted the rule of central Siamese Kings and then governments. The Kingdom of Pattani, established as a Malay-Muslim kingdom in the late 14th century was both prosperous and known to the western world as a trading post of some repute. For centuries, the Malay-Muslims prospered and evolved a culture and traditions which were separate from those of their Siamese neighbours to the north. Various Kings of Siam attempted to subjugate the Kingdom but to no avail. It took the treachery of Nai Chanthong one of the Chiefs of the Sultan to bring the kingdom to the Siamese King Rama I and it lost both its independence and its monarchy. In 1909, after the British portioning of Kedah and the sultanate of Patani was granted to Bangkok to rule. As a part of the post-colonial wave of nationalism that swept Southeast Asia in the middle part of the twentieth century, the Malay-Muslim community suffered the indignity of having many of its symbols of its culture and way of life–such as dress, language and names–relegated to a minority status, banned as they were in government institutions. As a result of this state led this perceived internal colonialism many Malay-Muslims took up arms against the central Thai governments, aided by the Communist movement of the time. This armed separatist struggle, however, was waged only by a minority of the Malay-Muslims, the majority continuing to live peacefully with their Chinese and Thai Buddhist neighbours. From the 1980’s onwards, the spread of democracy and civil society rather took away the radical elements of the south and the separatist movement became quiet until 2004 When a raid on an army camp and a pitch battle at the symbolic Kru Ze temple which ended with the deaths of many Muslims. The attacks signaled the resurgence of the separatist movement. This paper explores the reasons why, including the roots of ethnic conflicts and the spread of radical Islam. However, its main premise is to argue that the policies and management style of Thaksin Shinawatra and the Thai Rak Thai party were the real reason why this peaceful but potentially explosive region decided once more to take up arms. Thaksin’s aggressive stance, his desire to control all regions and all levels of politics, his lack of understanding of the culture and political landscape of the South all led to the violence which the South is presently witnessing.en
dc.description.abstractalternativeในภาคใต้ของประเทศไทย มีการต่อต้านต่อวิธีปกครองที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาช้านาน ซึ่งการต่อต้านนี้ได้รวมไปถึงการต่อต้านรัฐบาลไทยเช่นกัน ทั้งนี้ ในช่วงศตวรรษที่ 14 ปัตตานียังถือเป็นรัฐหนึ่งของอาณาจักร มาเลย์-มุสลิม ที่รุ่งเรือง และขึ้นชื่อว่าเป็นศูนย์กลางการค้าของกลุ่มคนมากมาย โดยเป็นเวลาหลายทศวรรษที่ชาวมาเลย์-มุสลิมได้พัฒนาวัฒนธรรมต่างๆขึ้นมา แต่วัฒนธรรมนี้มิได้มีความเหมือนวัฒนธรรมของประเทศไทยแต่อย่างไร จึงทำให้พระมหากษัตริย์หลายพระองค์ได้ทรงเพียรพยายามที่จะยึดครองรัฐนี้ แค่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จ จนกระทั่งนายพลในองสุลต่านนาม นายจันทร์ทองได้หักหลังองสุลต่าน โดยช่วยให้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสามารถยึดครองอิสรภาพ และราชบัลลังก์ได้สำเร็จ ในปี ค.ศ. 1909 ภายหลังการแบ่งแยกรัฐเกดะห์ของสหราชอาณาจักร รัฐปัตตานีได้เปลี่ยนเป็นจังหวัดปัตตานีและถูกปกครองโดยรัฐบาลไทย หลังยุคอาณานิคมในช่วงกลางศตวรรษที่ 21 ชาวมาเลย์-มุสลิมได้รับผลกระทบจากการกดขี่ โดยที่วัฒนธรรมอันเก่าแก่ของตนได้ถูกลดความสำคัญ ภาษา, การแต่งกาย และแม้กระทั่งชื่อของตนก็ถูกห้ามไม่ให้ใช้ในสถานที่ราชการ การกระทำเหล่านั้นนำมาสู่การปลุกระดมชาวมาเลย์-มุสลิมโดยลัทธิคอมมิวนิสต์ ให้ลุกขึ้นมาหยิบอาวุธและต่อต้านการปกครองของรัฐบาลไทย อย่างไรก็ตาม ชนกลุ่มนี้ก็ได้เจอกับปัญหาที่ชาวมาเลย์-มุสลิมส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับการกระทำที่รุนแรง เนื่องจากคนส่วนใหญ่มีความสุขที่จะอยู่อย่างสงบกับชาวไทยพุทธ จากปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา การแพร่ขยายของระบอบประชาธิปไตยและความมั่นคงของสังคม ได้ทำให้คณะแบ่งแยกดินแดนลดบทบาทลง จนกระทั่งค.ศ. 2004 ได้มีการบุกค้นทำลายค่ายทหารที่วัดกรูเซอ ส่งผลให้ชาวมุสลิมหลายคนถูกสังหาร การโจมตีครั้งนั้นได้ส่งผลักดันให้กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเริ่มเคลื่อนไหวอีกครั้ง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้วิเคราะห์ถึงเหตุผล รากฐาน การเป็นมาของความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติ และการแพร่กระจายของศาสนาอิสลาม อย่างไรก็ตาม เนื้อหาหลัก คือการถกเถียงเรื่องนโยบาย และวิธีบริหารประเทศของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย ซึ่งเป็นเหตุผลที่ทำให้สถานการณ์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ปะทุขึ้นมาอีกครั้ง ด้วยชั้นเชิงแนวรุกของทักษิณ ที่จะควบคุมทุกภูมิภาค และทุกๆระดับของการเมือง บวกกับการขาดความเข้าใจของวัฒนธรรม และขอบเขตของการปกครองในภูมิภาค 3 ชายแดนภาคใต้ ซึ่งนำไปสู่ความรุนแรงของภาคใต้ในปัจจุบันen
dc.format.extent2943706 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1878-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectThailand, Southern -- Politics and governmenten
dc.subjectViolence -- Thailand, Southernen
dc.subjectThaksin Shinawatra, 1949-en
dc.titleHow Thaksin and Thai Rak Thai party re-ignited the violence in the Thai Southen
dc.title.alternativeทักษิณและพรรคไทยรักไทยสร้างความรุนแรงขึ้นมาใหม่ในภาคใต้ของไทยได้อย่างไรen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineSoutheast Asian Studies (Inter-Department)es
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1878-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Severin Jacques Herbert.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.