Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกวีไกร ศรีหิรัญ-
dc.contributor.advisorภิญโญ จินันทุยา-
dc.contributor.authorวสันต์ เอี่ยมสุภาษิต-
dc.contributor.illustratorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-03-17T06:42:20Z-
dc.date.available2011-03-17T06:42:20Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14845-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractในกระบวนการออกแบบอาคารโดยเฉพาะอาคารสูงนั้น มีข้อพิจารณาในด้านกฎหมายอยู่หลายด้าน กฎหมายที่มีผลเกี่ยวเนื่องกับการออกแบบรูปทรงของอาคารโดยตรง ได้แก่ กฎหมายระยะถอยร่น ซึ่งเป็นข้อจำกัดที่มีความจำเป็นต่อการออกแบบ เพื่อให้เกิดการใช้พื้นที่ที่ดินอย่างมีศักยภาพสูงที่สุด กฎหมายระยะถอยร่นนี้จะแปรผันไปตามสถานที่ตั้งของโครงการ โดยขึ้นกับข้อมูลต่างๆ เช่น ลักษณะทางกายภาพของที่ตั้ง (ขนาด, รูปร่าง) สภาพแวดล้อมของที่ตั้ง (ขนาดถนนบริเวณรอบโครงการ, อาคารข้างเคียง)ฯ ตัวแปรเหล่านี้ส่งผลทำให้ลักษณะรูปทรง 3 มิติของอาคารเปลี่ยนแปลงไปด้วย และมีผลกระทบในลักษณะที่เป็นลูกโซ่ต่อเนื่องกันไป การปรับเปลี่ยนตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง จะเกิดผลกระทบต่อตัวแปรอื่น ๆ ทันที ทำให้การวิเคราะห์คำนวณในลักษณะนี้ มีความยุ่งยาก และใช้เวลาการใช้คอมพิวเตอร์ ในการวิเคราะห์คำนวณนั้น จะทำให้เกิดประโยชน์เป็นอย่างมากเนื่องจากสามารถเก็บค่าตัวแปรต่างๆ ที่มีผลเหล่านี้ ประมวลผลออกมาเพื่อเป็นข้อกำหนดของการออกแบบ ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ง่ายต่อการทดลองปรับเปลี่ยน และแก้ไข เพื่อหาแนวทางการออกแบบให้เกิดประโยชน์ต่อโครงการสูงที่สุด โดยการศึกษาในครั้งนี้จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ และลำดับ ของตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อข้อจำกัดทางกฎหมายที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ที่ดิน เช่น ข้อจำกัดในการถอยร่นของอาคารในระดับความสูงต่างๆ , ข้อจำกัดเรื่องขนาดพื้นที่ใช้สอยอาคาร โดยการวิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยของอาคารและเปรียบเทียบ กับลักษณะการออกแบบร่างรูปทรงต่างๆ ของอาคารสูง ทำให้ลดขั้นตอน และเวลาที่ใช้ในการวางแนวทางการออกแบบสำหรับอาคารสูงen
dc.description.abstractalternativeAnalysis of a high-rise building usable space is of feasibility study in a design process to yield optimum usable space and benefit. There are many factors that affect the usability study, for instance, shape of the property, surroundings (the size of roads and physicality of adjacent buildings), laws and regulations (setback, floor area ratio, open space ratio, the number of floors, the height of floor to floor, the use of space, the number of parking spaces. All these factors are relative when one has changed as it will affect the others. For example, if the size of property or the height of floor has changed, these would reduce the selling space of the project. The chain reaction of these variables would yield tedious and complicated calculations. This study focusies on creating a program that is used for analyzing the factors derived from the laws and regulations and generate the model that is beneficial for a feasibility study of a high-rise building design. The use of computer analysis is more practical as the variables can be stored as data, which makes it easier and faster to reevaluate when factors are altered.en
dc.format.extent27157092 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.418-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอาคารสูง -- การออกแบบและการสร้าง -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en
dc.titleโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยออกแบบรูปทรง 3 มิติของอาคารสูงภายใต้กฎหมายระยะถอยร่นen
dc.title.alternativeComputer program for 3D modeling design of high-rise building under setback lawsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorกวีไกร ศรีหิรัญ-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.418-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vasan_Ia.pdf26.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.