Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15376
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMontree Wongsri-
dc.contributor.authorKasin Pronpitakthum-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2011-06-28T08:05:21Z-
dc.date.available2011-06-28T08:05:21Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15376-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2008en
dc.description.abstractThe most important task in a chemical process is controlling the process to achieve of process safety, production rates, and product quality. Generally, a chemical plant consists of reaction sections and separation section. Both sections need to control system for the safety and economical in plant. In this research, modification of the separation section of HDA process and the use of heat exchanger network (HEN) to save energy are proposed. The traditional HDA distillation train is replaced by a new design. Furthermore, four new heat exchanger networks (HENs) are developed. The plantwide control structures are designed using the disturbance load propagation method (Wongsri, M., 1990) and heat pathway heuristics (Wongsri, M. and Hermawan Y.D., 2005), respectively. Two kinds of disturbances: thermal and material disturbances are used in evaluation of the plantwide control structures. The performances of the heat integrated plants (HIPs) and the control structures evaluated dynamically by commercial software HYSYS.en
dc.description.abstractalternativeในกระบวนการทางเคมีสิ่งที่สำคัญที่สุด คือการควบคุมกระบวนการเพื่อให้ระบบดำเนินงานไปด้วยความปลอดภัยและได้ผลิตภัณฑ์ตามเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งในกระบวนการทางอุตสาหกรรมเคมีส่วนใหญ่จะแบ่งหน่วยการผลิตออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ ส่วนของการเกิดปฏิกิริยา และส่วนของการแยก ทั้งสองส่วนต้องการระบบควบคุมที่ทำให้กระบวนการดำเนินการได้อย่างเหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ ในงานวิจัยนี้ได้ทำการปรับปรุงโครงสร้างในส่วนของการแยกของกระบวนการไฮโดรดิอัลคิเลชันและนำข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนมาใช้เพื่อช่วยในการประหยัดพลังงาน นั้นคือวัตถุประสงค์ของงานวิจัยเรา โดยกระบวนการไฮโดรดิอัลคิเลชันแบบเดิมนั้นมีการกลั่นแบบเรียงลำดับซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยการออกแบบใหม่ จากนั้นได้ออกแบบข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนใหม่อีก 4 แบบ การออกแบบโครงสร้างการควบคุมแบบแพลนท์ไวด์สำหรับกระบวนการที่มีการเบ็ดเสร็จพลังงานถูกออกแบบโดยการใช้วิธีการส่งผ่านความแปรปรวนของ (Wongsri, M., 1990) และ การออกแบบเส้นทางเดินของความร้อน (heat pathway heuristics) ของ (Wongsri, M. and Hermawan Y.D., 2005) ตามลำดับ ในการประเมินสมรรถนะโครงสร้างการควบคุมได้ใช้ตัวรบกวนกระบวนการ 2 ชนิด ได้แก่ การรบกวนทางความร้อนและการรบกวนอัตราการไหลของสาร การประเมินสมรรถนะกระบวนการที่มีการเบ็ดเสร็จทางด้านพลังงานและโครงสร้างการควบคุมที่สภาวะเชิงพลวัต ซึ่งสามารถทำได้ด้วยการจำลองกระบวนการด้วยโปรแกรมไฮซีสen
dc.format.extent12467003 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1677-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectChemical industryen
dc.subjectPlantwide process controlen
dc.titleDesign of heat-integrated process structures for HDA planten
dc.title.alternativeการออกแบบโครงสร้างกระบวนการที่มีการเบ็ดเสร็จทางด้านความร้อนสำหรับโรงงานไฮโดรดีอัลคีลเลชันen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Engineeringes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChemical Engineeringes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisormwongsri@gmail.com, Montree.W@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1677-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kasin_pr.pdf12.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.