Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15501
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต รัตนธรรมสกุล-
dc.contributor.authorศราวุธ แสนโยเมือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-07-18T08:26:09Z-
dc.date.available2011-07-18T08:26:09Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15501-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาผลของผงเยื่อกระดาษต่อการสร้างเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบอีจีเอสบี ในการบำบัดน้ำเสียจากฟาร์มสุกร น้ำเสียที่ใช้เป็นน้ำเสียจริงให้น้ำเข้าระบบความเข้มข้นซีโอดีเฉลี่ย 2,500 มิลลิกรัมต่อลิตร การทดลองใช้แบบจำลองระบบอีจีเอสบีลักษณะเหมือนกันจำนวน 4 ถังปฏิกรณ์ โดยถังปฏิกรณ์ที่ 1 ไม่มีการเติมผงเยื่อกระดาษ สำหรับถังปฏิกรณ์ที่ 2 3 และ 4 ทำการเติมผงเยื่อกระดาษปริมาณ 1,500 2,000 และ 3,000 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็ง-แขวนลอย ตามลำดับ ลงไปครั้งเดียวพร้อมกับการใส่ตะกอนหัวเชื้อลงไปในถังปฏิกรณ์ ทำการเดินระบบในช่วงอัตราภาระ บรรทุกสารอินทรีย์ 1 2 และ 3.5 กิโลกรัมซีโอดีต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน ที่ความเร็วไหลขึ้น 2 4 และ 7 เมตรต่อชั่วโมง ทำการทดลองรวมทั้งสิ้น 156 วัน ผลการทดลองที่ได้พบว่า ถังปฏิกรณ์อีจีเอสบีทั้งสี่ถังมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีมากกว่า 91.5% และตะกอนในถังปฏิกรณ์ที่มีการเติมผงเยื่อกระดาษที่ความเข้มข้น 2,000 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย มีการรวมเป็นเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ขนาดที่มองเห็นได้เร็วกว่า ตะกอนจากถังปฏิกรณ์ที่ไม่มีการเติมผงเยื่อกระดาษเลย โดยสังเกตเห็นเม็ดตะกอนในวันที่ 31 และ 59 ตามลำดับ เม็ดตะกอน มีการกระจายขนาดตั้งแต่ 0.15-1.23 มิลลิเมตร มากกว่า 40% ค่า SMA ของเม็ดตะกอนจาก ถังปฏิกรณ์อีจีเอสบี 1 2 3 และ 4 มีค่าเท่ากับ 0.08 0.15 0.29 และ 0.11 กรัมซีโอดีต่อกรัมของแข็งระเหยต่อวัน ตามลำดับ จากภาพถ่าย SEM พบว่าลักษณะแบคทีเรียที่พบในเม็ดตะกอนของถังปฏิกรณ์ทั้งสี่ มีลักษณะเหมือนกันโดยมีแบคทีเรียชนิดท่อนสั้น Methanothrix-like species เป็นสายพันธุ์หลัก จากผลการทดลองสรุปได้ว่า การเติมผงเยื่อกระดาษในปริมาณที่เหมาะสม การเพิ่ม ภาระบรรทุกสารอินทรีย์และเพิ่มความเร็วไหลขึ้น สามารถส่งเสริมกระบวนการสร้างเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ได้ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ และลดระยะเวลาในการเดินระบบให้สั้นลงกว่าวิธีการโดยทั่วไป โดยปริมาณผงเยื่อกระดาษที่แนะนำให้ใช้คือ 2,000 มิลลิกรัมต่อกรัมของแข็งแขวนลอย.en
dc.description.abstractalternativeTo study the effect of pulp powder for granulation in an expanded granular sludge bed (EGSB) reactor. Wastewater in this experiment was real wastewater from piggery. The influent COD content was 2,500 mg/L. on average. In the experiment with 4 EGSB reactors, the Pulp powder concentrations employed were 0, 1,500, 2,000 and 3,000 mg./g.SS, respectively. The organic loading rate varied by 1, 2 and 3.5 kg.COD/m3-day. The upflow velocity was varied 2, 4 and 7 m/hr. The experiments were carried out in 156 days. The result showed that 4 reactors have the COD removal of over 91.5 percent. The sludge in reactor with Pulp powder 2,000 mg/g.SS was sludge granulation observed faster than reactor without Pulp powder. The granules were initially observed on Day 31 and Day 59, respectively. About 40% of granular sludge had their size between 0.15-1.23 mm. in diameter. The Specific Methanogenic activity (SMA) for reactor 1, 2, 3 and 4 values was 0.08, 0.15, 0.29 and 0.11 gCOD-gCH4/gVSS-d., respectively. The SEM showed that a granule from all reactors was mostly composed of Methanothrix-like species.The result shows that the Pulp powder, Organic loading rate and Upflow velocity which enhanced sludge granulation, efficiency and decrease period for startup system. The most promising for the Pulp powder concentrations addition was 2,000 mg./g.SS.en
dc.format.extent6513364 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1424-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectของเสียจากสัตว์en
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพen
dc.subjectแกรนูเลชันen
dc.titleการสร้างเม็ดตะกอนในถังปฏิกรณ์อีจีเอสบีด้วยผงเยื่อกระดาษสำหรับบำบัดน้ำเสียจากฟาร์มสุกรen
dc.title.alternativeGranulation in an expanded granular sludge bed reactor using pulp powder for treatment of piggery wastewateren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfencrt@kankrow.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1424-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarawut_sa.pdf6.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.