Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยง ภู่วรวรรณ-
dc.contributor.authorกมลวรรณ คณานุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-06T03:36:19Z-
dc.date.available2011-08-06T03:36:19Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15607-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractโรตาไวรัสเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคอุจจาระร่วงอย่างรุนแรงในทารกและเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ทั่วโลก ในแต่ละปีมีเด็กเสียชีวิตจากอาการของโรคนี้ประมาณ 527,000 คน โดยอัตราการตายส่วนใหญ่ถูกพบในประเทศกำลังพัฒนา ในประเทศไทยพบว่า หนึ่งในสามของผู้ป่วยเด็กอุจจาระร่วงที่เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ ดังนั้น การศึกษานี้เป็นการศึกษาความชุกและคุณลักษณะในระดับอณูชีวโมเลกุลของเชื้อโรตาไวรัส ที่พบในผู้ป่วยเด็กอุจจาระร่วงที่เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสี่แห่งในประเทศไทย ในช่วง กรกฎาคม 2550-พฤษภาคม 2552 จากการศึกษาในตัวอย่างอุจจาระที่เก็บจากผู้ป่วย 557 ตัวอย่าง ด้วยวิธี RT-PCR พบให้ผลบวกต่อโรตาไวรัส 158 ตัวอย่าง (28.4%) ซึ่งผลการแยกจีโนไทป์พบเป็น G1P[8] (49.4%) มากที่สุด รองลงมาคือ G9P[8] (22.2%), G2P[4] (20.2%) และ G3P[8] (0.6%) นอกจากนั้นในการศึกษานี้ยังพบ G12P[8], G12P[6] และ G3P[9] ซึ่งเป็น uncommon strains ในประเทศไทย ซึ่งตัวอย่างที่พบ ได้นำมาใช้ศึกษาลงลึกในระดับอณูชีวโมเลกุล และ Phylogenetic analysis เพื่อดูความสัมพันธ์ภายใน G และ P genotype ที่พบ และจากผลการศึกษาความชุก การศึกษาครั้งนี้จึงได้พัฒนา multiplex RT-PCR สำหรับตรวจแยกจีโนไทป์ชนิด G-type ที่พบบ่อยในปัจจุบัน เพื่อลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการศึกษาจีโนไทป์ด้วยวิธี monoplex RT-PCR ทั่วไป โดยวิธี multiplex RT-PCR ได้นำมาทดสอบกับตัวอย่างที่ตรวจพบเชื้อโรตาไวรัส พบว่าให้ผลตรงกันกับการศึกษาความชุก 146 ตัวอย่าง (92.4%) และไม่พบ cross-reaction กับไวรัสก่อโรคในระบบทางเดินอาหารชนิดอื่น.en
dc.description.abstractalternativeRotaviruses are the most common cause of severe diarrhea among infants and young children worldwide. Each year, rotavirus diarrhea results in an estimated 527,000 fatalities of children below 5 years of age, with the fatality rate highest in developing countries. In Thailand, rotavirus represents the major cause of diarrhea in infants and children, and is responsible for about one-third of diarrheal diseases in hospitalized patients. In this study, we have described the distribution and molecular characterization of rotaviruses circulating in infants and children with diarrhea admitted in four hospitals of Thailand between July 2007 and May 2009. Group A rotaviruses were detected in 158 (28.4%) of 557 specimens by RT-PCR. The G1P[8] was identified at high levels (49.4%) followed by G9P[8] (22.2%), G2P[4] (20.2%) and G3P[8] (0.6%). The uncommon strains G12P[8], G12P[6] and G3P[9] were also detected. Molecular characterization and phylogenetic analysis of G and P genotypes were described. The multiplex RT-PCR was developed for rapid and cost-effective etiological diagnostic tool for rotavirus common G-genotypes. The performance of this assay was tested on isolates from this study and showed well correlated result of 92.4% (146) prevalence. No cross-reactivity was observed with other enteric viruses.en
dc.format.extent3075443 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1189-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectท้องร่วงในเด็กen
dc.subjectโรตาไวรัสen
dc.titleความชุกของฮิวแมนโรตาไวรัสกลุ่มเอจีโนไทป์ในเด็กอุจจาระร่วง ด้วยวิธีมัลติเพล็กซ์อาร์ทีพีซีอาร์en
dc.title.alternativePrevalence of human rotavirus group A genotype in children with diarrhea using multiplex RT-PCRen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การแพทย์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorYong.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1189-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kamonwan_kh.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.