Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกียรติ รักษ์รุ่งธรรม-
dc.contributor.advisorเจตทะนง แกล้วสงคราม-
dc.contributor.authorธัชชัย คำพิทักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-09-26T03:38:37Z-
dc.date.available2011-09-26T03:38:37Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16003-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. )--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractความสำคัญและที่มา : ปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสียังคงเป็นปัญหาสำคัญของทั้งแพทย์และผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องทั้งในด้านการวินิจฉัย การรักษารวมไปถึงการป้องกันปฏิกิริยาภูมิแพ้ที่อาจเกิดขึ้นซ้ำวัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาถึงความชุกและลักษณะของผู้ป่วยที่เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์รวมไปถึงบทบาทของการทดสอบทางผิวหนังในการวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันที่เกิดจากสารทึบรังสี วิธีการศึกษา : รวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยที่เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2549-2551 และทำการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังในผู้ป่วยที่เคยเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีโดยวิธีสะกิดและฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังโดยใช้สารทึบรังสีจำนวน 8 ชนิดที่มีจำหน่ายในประเทศไทย ผลการศึกษา : ความชุกของการเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์อยู่ที่ประมาณ 0.56% แบ่งเป็นปฏิกิริยาภูมิแพ้ที่ไม่รุนแรง 0.53% และปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรง 0.03% ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรงและตอบสนองดีต่อการรักษา ผู้ป่วยส่วนน้อยที่เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงมักเป็นผู้ป่วยที่เคยเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีหรือเป็นโรคภูมิแพ้ การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังให้ผลบวกในผู้ป่วย 23.8% โดยมักพบผลบวกในผู้ป่วยที่เกิดปฏิกิริยารุนแรงหรือเกิดอาการบวมจากสารทึบรังสีผู้ป่วยส่วนใหญ่ให้ผลบวกเฉพาะสารทึบรังสีที่แพ้โดยไม่พบผลข้างเคียงรุนแรงจากการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง สรุปผลการศึกษา : การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังน่าจะมีประโยชน์ในการวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีและอาจใช้เป็นเครื่องมือในการเลือกสารทึบรังสีที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาโดยใช้สารทึบรังสีอีกเพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้จากสารทึบรังสีซ้ำen
dc.description.abstractalternativeBackground & objective : Immediate hypersensitivity reactions to iodinated contrast media (ICM) remain a significant problem for both the physicians and the patients involved. The objective of our study was to determine prevalence, characteristics of patients who experienced immediate hypersensitivity reactions due to ICM and role of skin tests for the diagnosis of the reactions. Methods : We analyzed data of the patients who had a history of immediate hypersensitivity reactions due to iodinated ICM in King Chulalongkorn University Hospital (KCMH) between 2006-2008. Skin tests were performed in selected patients by prick and intradermal method using 8 available iodinated contrast media in Thailand. Results : Prevalence of immediate hypersensitivity reactions in KCMH was 0.56% (0.53% for mild reactions and 0.03% for severe reactions). Most patients had mild reactions and responded well to treatments. Positive skin tests were observed in 23.8% of selected patients by IDT and more prevalent in the patients who had severe reactions or angioedema due to ICM. Conclusion : Skin testing may have diagnostic value in the patients who experienced immediate hypersensitivity reactions due to ICM.en
dc.format.extent1211169 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.656-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภูมิแพ้en
dc.subjectภูมิแพ้ -- การวินิจฉัยen
dc.subjectการทดสอบทางผิวหนังen
dc.titleความชุก ลักษณะของผู้ป่วยและบทบาทของการทดสอบทางผิวหนังในการวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพ้เฉียบพลันจากสารทึบรังสีที่มีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบen
dc.title.alternativePrevalence, patient characteristics and role of skin tests for the diagnosis of immediate hypersensitivity reactions due to iodinated contrast mediaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKiat.R@Chula.ac.th-
dc.email.advisorJettanong.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.656-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thatchai_ka.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.