Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorวราวุธ วัดขนาด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-10-24T08:49:18Z-
dc.date.available2011-10-24T08:49:18Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16183-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำทรายที่ใช้แล้วจากเตาฟลูอิดไดซ์เบดและทรายธรรมชาติมาเคลือบด้วยเหล็กออกไซด์เพื่อกำจัดแคดเมียมในน้ำเสียสังเคราะห์ ในการทดลองทีละเท จะศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการกำจัดแคดเมียมคือ พีเอช ระยะเวลาเข้าสู่สมดุลที่เหมาะสม ความเข้มข้นที่เหมาะสม การคายซับด้วยสารละลายกรดและน้ำกลั่น และไอโซเทอมการดูดติดผิว การทดลองต่อเนื่องด้วยคอลัมน์ดูดซับและการฟื้นฟูสภาพ ผลการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับแคดเมียมไอออน พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับของตัวดูดซับทั้งสองชนิดคือ เวลาสัมผัส 4 ชั่วโมงค่าพีเอชที่เป็นกลาง ความเข้มข้นของแคดเมียมไอออนในน้ำเสียสังเคราะห์ คือ 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ผลการทดลองพบว่า ทรายจากเตาฟลูอิดไดซ์เบดเคลือบเหล็กออกไซด์ และทรายธรรมชาติเคลือบเหล็กออกไซด์ มีประสิทธิภาพการกำจัดแคดเมียมในน้ำเสียสังเคราะห์ร้อยละ 88.66 และ 89.09 ตามลำดับ โดยสอดคล้องกับสมการการดูดซับแบบแลงมัวร์ ค่าปริมาณการดูดซับสูงสุดของตัวดูดซับทรายจากเตาฟลูอิดไดซเบดเคลือบเหล็กออกไซด์และทรายธรรมชาติเคลือบเหล็กออกไซด์เท่ากับ 0.26 มิลลิกรัมต่อกรัม ส่วนการศึกษาการคายซับ พบว่าทรายจากเตาฟลูอิดไดซ์เบดเคลือบเหล็กออกไซด์และทรายธรรมชาติเคลือบเหล็กออกไซด์ เท่ากับร้อยละ 46.57 และ 43.87 ในการทดลองแบบต่อเนื่องในคอลัมน์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการกำจัดแคดเมียมที่มีความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ความสูงของตัวดูดซับ 30,60 และ 90 เซนติเมตรป้อนน้ำเสียแบบไหลลงที่ 25 มิลลิลิตรต่อนาที พบว่าปริมาตรน้ำเสียไหลผ่านชั้นตัวดูดซับที่จุดหมดสภาพของ ทรายจากเตาฟลูอิดไดซเบดเคลือบเหล็กออกไซด์และทรายธรรมชาติเคลือบเหล็กออกไซด์ 244.6, 297.2, 345.8 และ 248.8, 292.3, 340.3 เท่าของปริมาตรของคอลัมน์ ตามลำดับ ผลของการฟื้นฟูสภาพใน 5 รอบการทำงานพบว่า คุณภาพน้ำที่ผ่านการบำบัดจะลดลงเมื่อทำการฟื้นฟูสภาพen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the removal cadmium of wastewater using iron oxide-coated on used sand of fluidized bed reactor (FCS) and iron oxide-coated on natural sand (NCS).In the batch experiment, the influence of pH, contact time for equilibrium on removal capability were considered, desorption of cadmium from goethite by acid solution and distilled water, the influence of concentration and adsorption Isotherm. Finally, the continuous adsorptive column was studied using down flow column and regenerating ion by acid solution The study the efficiency of adsorbent show that the suitable adsorption condition of adsorbents are 4 hours had not been adjudge of pH, Cadmium Ions (ll) concentration in synthetic wastewater was 3.00 mg/l the results of FCS and NCS, the removal efficiency 88.66% and 89.09% respectively and isotherm by Langmiur equation, the maximum adsorption capacity at 0.26 mg /g . The study of desorption with acid show that cadmium ion is to leach of FCS and NCS at 46.57% and 43.87% In continuous experiment in column at concentration of cadmium at 3 mg/l at depth of adsorbent 30,60 and 90 cm down flow 25 ml/min. The results indicated that the breakthrough volumes of FCS and NCS each depth were 244.6, 297.2, 345.8 and 248.8,292.3, 340.3 bed volume respectively. The result of regeneration 5 cycle found that quantity of treated water was average decreasingen
dc.format.extent18998367 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1448-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแคดเมียมen
dc.subjectเหล็กออกไซด์en
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์แบบฟลูอิไดซ์en
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดแคดเมียมen
dc.titleประสิทธิภาพการกำจัดแคดเมียมไอออน (II)โดยใช้ทรายที่ใช้แล้วจากเตาฟลูอิดไดซ์เบดเคลือบเหล็กออกไซด์en
dc.title.alternativeCadmium ions (II) removal efficiency using iron oxide-coated on used sand of fluidized bed reactoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThares.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1448-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
warawut_wa.pdf18.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.