Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โลหเตปานนท์-
dc.contributor.authorเบญจพล ประจง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-02-10T11:14:28Z-
dc.date.available2012-02-10T11:14:28Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16760-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษากระบวนการเบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ที่เป็นชิ้นส่วนซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ของ กองพันสรรพาวุธซ่อมบำรุงเขตหลัง กรมสรรพาวุธทหารบก (พัน.สพ.ซบร.เขตหลัง) โดยประยุกต์ใช้หลักการ การปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Improvement) ซึ่งกระบวนการหลักที่ใช้คือ การวัดเทียบเคียงสมรรถนะกระบวนการ (Process Benchmarking) เพื่อทำการเปรียบเทียบกระบวนการของพัน.สพ.ซบร.เขตหลังกับหน่วยงานที่เป็นคู่เทียบว่ามีช่วงห่าง(Gap)มากน้อยแค่ไหน และใช้การออกแบบกระบวนการใหม่ (Process Redesign) ร่วมกับหลักการ ECRS เพื่อลดช่วงห่างระหว่างหน่วยงานลง ผลการศึกษาวิจัยพบว่าการประยุกต์ใช้หลักการ การปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Improvement) โดย การวัดเทียบเคียงสมรรถนะกระบวนการ (Process Benchmarking) การออกแบบกระบวนการใหม่ (Process Redesign) และ หลักการ ECRS มีแนวโน้มทำให้ตัวชี้วัดกระบวนการที่วัดเปรียบเทียบสมรรถนะทั้ง 4 ด้าน คือ 1.ด้านจำนวนขั้นตอน 2.ด้านเวลาที่ใช้ในกระบวนการ 3.ด้านจำนวนคนในกระบวนการ 4.จำนวนความผิดพลาดลดลง และสามารถลดช่างห่าง (Gap)ในแต่ละด้านจากคู่เทียบลงได้ และมีแนวโน้มทำให้สมรรถนะของกระบวนการดีขึ้น สามารถใช้เป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนากระบวนการเบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ที่เป็นชิ้นส่วนซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธได้en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis was to study and improve spare part dispensing process in Ordnance Supply Company of Ordnance Maintenance Battalion Communication Zone, the Royal Thai Army’s Ordnance Department. The study applies the business process improvement concept to military settings, using tools such as benchmarking to identify performance gaps and then close those gaps using Process Redesign and ECRS concept. The new process shows marked improvement compared with benchmarking partners. The result shows marked improvement can reduce performance gaps and use this study for the way of improve the Ordnance spare part dispensing process The study focuses on four major performance measure, namely, (1) number of activities in the process, (2) time, (3) number of staff, and (4) number of errors. From the study, all four measures show marked improvement in the pilot trial of the new process, designed from applying Business Process Improvement and Process Benchmarking proceduresen
dc.format.extent2536034 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.879-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกรมสรรพาวุธทหารบกen
dc.subjectการเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)en
dc.titleการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะ ของกระบวนการเบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ที่เป็นชิ้นส่วนซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบกen
dc.title.alternativeA benchmarking of spare part dispensing process in Royal Thai Army's Ordnance Departmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorManoj.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.879-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Benjapol_Pr.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.