Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจตทะนง แกล้วสงคราม-
dc.contributor.advisorเกียรติ รักษ์รุ่งธรรม-
dc.contributor.authorพงษ์ศักดิ์ วังรัตนโสภณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-17T06:42:47Z-
dc.date.available2012-03-17T06:42:47Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18100-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractความสำคัญและที่มา : ยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนนิซิลลินเป็นยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย มีผู้ป่วยจำนวนมากมีประวัติแพ้ยาเพนนิซิลลิน แพทย์มักจะหลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มนี้โดยไปใช้ยาในกลุ่มอื่นแทน ซึ่งมีผลทั้งในด้านประสิทธิภาพและค่าใช้จ่ายในการรักษา ทั้งนี้เนื่องจากการทดสอบการแพ้ยาเพนนิซิลลินทางผิวหนังไม่ได้มีใช้กันอย่างแพร่หลายและน้ำยาทดสอบยังมีราคาแพงในปัจจุบัน. วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาถึงความถูกต้องของชุดน้ำยาทดสอบการแพ้ยาที่เตรียมขึ้นเองเปรียบเทียบกับชุดทดสอบจากบริษัท วิธีการศึกษา : ทำการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังด้วยชุดน้ำยาทดสอบที่เตรียมขึ้นเองเปรียบเทียบกับชุดทดสอบจากบริษัท ในอาสาสมัครที่มีประวัติแพ้ยากลุ่มเพนนิซิลลินแบบเฉียบพลัน ผลการศึกษา : จากการศึกษาในจำนวนผู้ป่วย 51 คน ที่มีประวัติแพ้ยากลุ่มเพนนิซิลลินแบบเฉียบพลัน พบว่า 31.4 % ให้ผลบวกกับชุดทดสอบจากบริษัท เมื่อชุดน้ำยาทดสอบที่เตรียมขึ้นเองทดสอบโดยใช้ชุดทดสอบจากบริษัทเป็นเครื่องมือมาตรฐานพบว่า ชุดน้ำยาที่เตรียมขึ้นเองมีความไว 87.5% ความจำเพาะ 85.71% ความถูกต้อง 86.26% ค่าทำนายเมื่อผลทดสอบเป็นลบ 93.75% โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ให้ผลบวกกับการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังไม่มีผลข้างเคียงรุนแรงจากการทดสอบ. สรุปผลการศึกษา : การใช้น้ำยาทดสอบการแพ้ยาเพนนิซิลลินที่เตรียมขึ้นเองให้ผลการทดสอบใกล้เคียงกับชุดทดสอบจากบริษัท ( DAP kit) ซึ่งน่าจะได้ประโยชน์ในการวินิจฉัยการแพ้ยาเพนนิซิลลินแบบเฉียบพลัน เนื่องจากสามารถเตรียมได้เอง ราคาไม่แพงและให้ผลการทดสอบใกล้เคียงกับการทดสอบด้วยชุดทดสอบจากทางบริษัท อย่างไรก็ตามข้อจำกัดของการวิจัยนี้คือในกรณีที่ให้ผลลบไม่สามารถบอกได้ว่า หากอาสาสมัครได้รับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินแล้วจะเกิดปฏิกิริยาแพ้หรือไม่อย่างไร จึงควรมีการวิจัยต่อไปในอนาคตen
dc.description.abstractalternativeBackground & objective : Penicillin and its derivatives are prescribing worldwide .10-20% of patients reported a penicillin allergy as a result ,most doctors prefer to switch to non peniciilin group antibiotics which may inappropriately associate with a higher cost and may compromise the treatment outcomes. The objective of our study was to determine the accuracy of an in-house penicillin test reagent compared with commercial available kit (DAP kit). Methods : Skin tests both SPT and IDT were performed in the patients with a history of immediated hypersensitivity reaction to penicillin by using In-house penicillin test reagent and commercial available kit (DAP kit) . Results : IDT but not SPT were positive in 31.4% when teste with commercial available kit (DAP kit) where as 37% positive with in-house penicillin test reagent. In-house penicillin test reagent has sensitivity 87.5%, specificity 85.7%,accuracy 86.27% and negative predictive value 93.75% , no serious adverse reaction is observed. Conclusion : The in-house penicillin test reagent may have a diagnostic value in the patients who experienced allergic reaction to penicillin group antibiotics.en
dc.format.extent5523791 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.320-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแพ้ยา -- การทดสอบ-
dc.subjectเพนนิซิลลิน-
dc.subjectDrug allergy-
dc.subjectPenicillin-
dc.titleการศึกษาความถูกต้องของการทดสอบการแพ้ยาในกลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะแพ้ยากลุ่มเพนนิซิลลิน ด้วยชุดทดสอบที่เตรียมขึ้นเอง เปรียบเทียบกับชุดทดสอบจากบริษัทen
dc.title.alternativeAccuracy of penicillin testing in patients with suspected penicillin allergy comparing between in-house penicillin test reagent and commercially available penicillin testing kiten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJettanong.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorKiat.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.320-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pongsak_wa.pdf5.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.