Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18158
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ วงษ์ทิม-
dc.contributor.advisorสุเทพ กลชาญวิทย์-
dc.contributor.authorภูรินทร์ ห้าประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-17T14:11:39Z-
dc.date.available2012-03-17T14:11:39Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18158-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractที่มา โรคหืดเป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมและมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเป็นอย่างมากถ้าควบคุมอาการได้ไม่ดี ภาวะกรดไหลย้อนเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่กระตุ้นทำให้การควบคุมอาการโรคหืดเป็นไปได้ยาก ดังนั้นการรักษาภาวะกรดไหลย้อนในผู้ป่วยโรคหืดอาจทำให้การควบคุมโรคหืดดีขึ้นได้และยังไม่มีการศึกษานี้ในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสมรรถภาพปอด, คะแนนแบบประเมินการควบคุมโรคหืดก่อนและหลังการรักษาภาวะกรดไหลย้อนในผู้ป่วยโรคหืด วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาเชิงทดลองเปรียบเทียบผลของสมรรถภาพปอดก่อนและหลังการรักษาภาวะกรดไหลย้อนในผู้ป่วยโรคหืดของรพ.จุฬาตั้งแต่ก.ย.51-ธ.ค.52 โดยผู้ป่วยทุกคนได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหืดที่ควบคุมอาการได้ไม่สมบูรณ์และมีภาวะกรดไหลย้อนร่วมด้วย(ตรวจด้วยวิธีใส่สายวัดpH) นำมาให้ยาโอมีพราโซลและวัดผลสมรรถภาพปอดและคะแนนแบบประเมินการควบคุมโรคหืดก่อนเข้าการศึกษา, หลังรักษา 4และ 8 สัปดาห์ตามลำดับ โดยวัดผลเป็นผลต่างของค่าเฉลี่ยFEV1 และ ผลต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนแบบประเมินการควบคุมโรคหืด และไม่มีการปรับเปลี่ยนชนิดและขนาดของยาโรครักษาโรคหืด ผลการศึกษา ผู้ป่วยโรคหืดที่ยังควบคุมอาการได้ไม่สมบูรณ์และมีภาวะกรดไหลย้อนร่วมด้วยทั้งหมด 24 ราย จากผู้ที่ใส่สายทั้งหมด 65 ราย ผู้ป่วยทุกรายได้รับยาโอมืพราโซล 40 มิลลิกรัมต่อวันเป็นเวลา 8 สัปดาห์ในการรักษาภาวะกรดไหลย้อน โดยค่าเฉลี่ยของFEV1(2.20±0.64, 2.36±0.58)และค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบประเมินการควบคุมโรคหืด(20.82±3.30, 23.00±1.69)ภายหลังการรักษาภาวะกรดไหลย้อนเป็นเวลา 4 และ 8 สัปดาห์ มีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยของFEV1(1.99±0.56)และค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบประเมินการควบคุมโรคหืด(16.36±3.97)ก่อนรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001, p<0.001 ตามลำดับ) สรุปการศึกษา การรักษาภาวะกรดไหลย้อนในผู้ป่วยโรคหืดที่ยังควบคุมอาการได้ไม่สมบูรณ์ สามารถทำให้สมรรถภาพปอดและการควบคุมของโรคหืดรวมถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้en
dc.description.abstractalternativeBackground Asthma is a chronic inflammatory disease of the airways. Gastroesophageal reflux disease (GERD) is known to be associated with difficult to control asthma. We hypothesized that treatment for GERD in asthmatics will improve asthma control and quality of life. Objectives To compare pulmonary function test and ACT score between pre and post treatment of GERD in asthmatics. Design and methods All cases of partly controlled and uncontrolled asthma who were found to have GERD from 24 hr pH monitoring were included from outpatient clinic at King Chulalongkorn Memorial Hospital between September 2008 and December 2009. GERD was diagnosed when 24 hr pH monitoring demonstrated more than 4% of the recording time with pH<4%. All cases received omeprazole 40 mg per day for treatment of GERD. Adjustment of asthmatic medications were not allowed during the study period. For each patient, pulmonary function test and ACT scores were compared between pre and post treatment at 4- week and 8- week follow up. Results There were 24 cases who were partly controlled and uncontrolled asthma with GERD. Mean FEV1 (2.20±0.64, 2.36±0.58) and mean ACT score (20.82±3.30, 23.00±1.69) after treatment of GERD at 4 and 8 wks are more than mean FEV1(1.99±0.56) and ACT score (16.36±3.97) pre treatment statistical significant (p<0.001, p<0.001 respectively).Conclusion Treatment of GERD in partly controlled and uncontrolled asthma patients improves pulmonary function, asthma control and quality of life.en
dc.format.extent5048728 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลสมรรถภาพปอดก่อนและหลังการรักษาภาวะกรดไหลย้อนด้วยยาโอมีพราโซลในผู้ป่วยโรคหืด การศึกษาเชิงทดลองเปรียบเทียบก่อนและหลังการรักษาen
dc.title.alternativeEffect of omeprazole on pulmonary function in adult asthmatics with gastroesophageal reflux disease, a pre-post comparison experimental studyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomkiat.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSutep.G@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phurin_ha.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.