Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.advisorประกอบ กรณีกิจ-
dc.contributor.authorสายสุนีย์ เทพสุขเอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-22T15:57:45Z-
dc.date.available2012-03-22T15:57:45Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18411-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีการค้นพบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนนักปฏิบัติและชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 และการมีส่วนร่วมของชุมชน ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้จากผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอนชั้นม. 3 นักเรียนชั้น ม. 3 และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 103 โรงเรียน ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการค้นพบ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนนักปฏิบัติและชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และการมีส่วนร่วมของชุมชน ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้น ม. 3 โรงเรียนวัดท่าซุด(เจริญศิลป์) จำนวน 23 คน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชน จำนวน 30 คน เพื่อศึกษาทักษะการแก้ปัญหาและการมีส่วนร่วมของชุมชน ระยะที่ 4 การนำเสนอรูปแบบการเรียนรู้ ที่ได้รับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ การใช้แนวคิดทฤษฎีเป็นกรอบในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t โดยใช้สถิติ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้ 5 องค์ประกอบ คือ 1.1)วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 1.2) กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1.3) สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีและการสื่อสาร เวลาเรียน แหล่งเรียนรู้ 1.4) การวัดประเมินผลการเรียนรู้ 1.5) การเผยแพร่องค์ความรู้ 2)ขั้นตอนของรูปแบบการเรียนรู้ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นเผยแพร่องค์ความรู้ 3) ผลการทดสอบคะแนนและผลการสังเกตการมีส่วนร่วมของชุมชน ดังนี้ 3.1) ผู้เรียนทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2) การมีส่วนร่วมของชุมชนมากที่สุดคือ กำหนดเป้าหมายของการเรียนรู้en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study was to develop a discovery learning model using information and communication technology based on community of practice participation and learning community to develop problem-solving skills of ninth grade students and community participation. The research and development procedure was divided into four phases. The first phase was to study the condition of learning management from the school directors, teachers , ninth grade students, and the participants in the community of 103 schools under the control of Nakhonsawan Educational Service Area Office 1. The second phase was to develop the discovery learning model using principles, ideas, and theories of discovery learning , information technology and communication, community of practice participation and the learning community, problem solving skill and participation of the community. The third phase was to use the discovery learning model. (3) The samples were 23 students of Watthatsoot Charoensin School, Nakhonsawan, and 30 participants in the community. The fourth phase was to present the discovery learning model certified by five experts. The statistic used in quality research was data analysis using the principle or theories or of learning. The statistic using in quantity research was frequency (f), the percentage, means ( ), and t-test (t-test dependent). The result of the research were as follows: 1. There are 5 elements of discovery learning model; 1.1 The learning objective 1.2 The procedure of learning 1.3 Media, equipments, technology and communication, time and learning resources. 1.4 Evaluation and 1.5 Learning diffusion. 2. The discovery learning model has 3 steps; 2.1 Preparation of learning 2.2 Learning management and 2. 3 Learning diffusion. 3. The result of learning achievement and the observation of community participation are 3.1 The pretest of problem solving was significantly higher than the post test at the level of .05 and 3.2 The most item of the community participation was learning objective identification.en
dc.format.extent4887317 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2080-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้โดยการค้นพบ-
dc.subjectการเรียนรู้ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน-
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ-
dc.subjectการแก้ปัญหา-
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีการค้นพบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนนักปฏิบัติและชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 และการมีส่วนร่วมของชุมชนen
dc.title.alternativeDevelopment of a discovery learning model using information and communication technology based on community of practice participation and learning community to develop problem-solving skills of ninth grade students and community participationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPrakob.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2080-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saisunee_th.pdf4.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.