Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ประไพตระกูล-
dc.contributor.authorดวงกมล วานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-24T10:01:25Z-
dc.date.available2012-03-24T10:01:25Z-
dc.date.issued2517-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18621-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยมีความประสงค์ที่จะศึกษาถึงความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนสาธิต ต่อการสอนวิชาหน้าที่พลเมือง ตลอดจนข้อเสนอแนะของนักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนวิชาที่พลเมืองให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามสำหรับนักเรียน ชนิดมาตราส่วนประเมินค่า แบบให้เลือกตอบ และตอบโดยอิสระ และส่งแบบสอบถามนี้ไปยังนักเรียน 300 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียนชาย 150 คน นักเรียนหญิง 150 คน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้ครบ โดยคำนวณหาค่ามัชฌิเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ แล้วนำเสนอในรูปตารางและความเรียง ผลของการวิจัย 1.เนื้อหาวิชาหน้าที่พลเมืองตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความสนใจทุกเรื่อง แต่อยู่ในระดับปานกลาง เรื่องที่นักเรียนสนใจมากที่สุดคือ การครองตนสนใจทุกเรื่อง แต่อยู่ในระดับปานกลาง เรื่องที่นักเรียนสนใจมากที่สุดคือ การครองตนในวัยรุ่น และการปกครองระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นักเรียนส่วนใหญ่มีความต้องการที่จะให้มีการสอนเรื่องการเปรียบเทียบการปกครองระบอบประชาธิปไตยกับสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ 2.วิธีการสอนหน้าที่พลเมืองที่นักเรียนชอบมากที่สุด คือ การที่ครูเอาเหตุการณ์ปัจจุบันเข้ามาเกี่ยวข้องกับบทเรียน การสอนที่ครูใช้อุปกรณ์การสอนประกอบ นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบให้ครูอ่านข้อความในหนังสือแบบเรียน และให้นักเรียนดูตาม หรือครูบรรยายและแสดงความคิดเห็นแต่เพียงผู้เดียว 3. นักเรียนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า วิชาที่พลเมืองเป็นวิชาที่ช่วยให้เข้าใจสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของตน นักเรียนร้อยละ 61.33 ชอบวิชาหน้าที่พลเมือง เพราะเห็นว่าเป็นวิชาที่ให้ประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน นักเรียนร้อยละ 38.68 ไม่ชอบวิชาหน้าที่พลเมือง เพราะเห็นว่าวิชานี้เนื้อหาไม่ทันสมัยและวิธีการสอนของครูน่าเบื่อ ข้อเสนอแนะ 1.ครูผู้สอนวิชาหน้าที่พลเมืองควรพยายามปรับปรุงตนเองด้วยการหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ทั้งในด้านเนื้อหาวิชา วีการสอนใหม่ ๆ และอุปกรณ์การสอน ตลอดจนติดตามเหตุการณ์ปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อครูจะได้มีความรู้ที่กว้างขวางและทันสมัย ซึ่งจะเป็นเครื่องชักจูงจิตใจให้นักเรียนอยากเรียน ไม่เกิดความเบื่อหน่าย 2. ผู้บริหารการศึกษา ควรปรับปรุงเนื้อหาวิชา หลักสูตร และแบบเรียนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน 3.ผู้จัดทำแบบเรียน ควรระวังเรื่องเนื้อหาให้ถูกต้องทันสมัย ภาษาที่ใช้ต้องง่ายแก่การเข้าใจ และเหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน-
dc.description.abstractalternativePurpose: The purpose of this research is to survey opinions of the lower secondary school students in demonstration schools in Bangkok towards the teaching of Civics to obtain baseline data for further improvement of the instruction of Civics to meet with the students’ needs. Procedure: The data for this research has been collected through questionnaires with three different techniques of rating scale, multiple choice and open-end. The questionnaires have been sent to two groups of three hundred students. One is comprised of a hundred and fifty male students, and the other is female students of the same number. All returned-questionnaires have been analyzed statistically by means of arithmetic mean, standard deviation and percentage, then tabulated and explained descriptively. Finding: 1.The students’ responses reveal that the content of the Civics curriculum of lower secondary level is moderately favorable. The highest interests of the students fall upon the topic “How the Teenagers Should Behave”, and “The Democratic Government”. Moreover, a large number of the students want to learn about the Comparison of Democratic Government , Socialism and Communism. 2.Most of the students like their teachers to relate current events to the content of the topic being taught and use effective teaching aids. They do not like their teachers to lecture and use textbook method without student participation in class. 3. Most of the students think that Civics helps them to understand their rights, freedoms and civic affairs. The students of 61.33 percent like Civics because it is important and useful for their daily lives, but 38.67 percent of the students do not like Civics because the content is not up to data and the teaching methods are not interesting. Suggestion: 1.The Civics teachers should try to improve their instruction by enriching their knowledge and teaching skill regarding content, methods of teaching and teaching aids. In order to increase and modernize their knowledge, teachers should always pay more attention to current events and bring them to their classes to attract students’ attention during lessons. 2.The administrators and educators should modernize the subject content, the curriculum and the textbooks in order to meet with the students’ interest in attending this subject. 3.Civics textbooks authors should improve and modernize the textbooks so that the wording and the content are suitable for the level of difficulty.-
dc.format.extent295730 bytes-
dc.format.extent525852 bytes-
dc.format.extent254314 bytes-
dc.format.extent332852 bytes-
dc.format.extent341282 bytes-
dc.format.extent366548 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียน -- ทัศนคติen
dc.titleความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสาธิตต่อการสอนวิชาหน้าที่พลเมืองen
dc.title.alternativeOpinions of lower secondary school students in demonstration schools towards the teaching of civicsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Doungamol_Va_front.pdf288.8 kBAdobe PDFView/Open
Doungamol_Va_ch1.pdf513.53 kBAdobe PDFView/Open
Doungamol_Va_ch2.pdf248.35 kBAdobe PDFView/Open
Doungamol_Va_ch3.pdf325.05 kBAdobe PDFView/Open
Doungamol_Va_ch4.pdf333.28 kBAdobe PDFView/Open
Doungamol_Va_back.pdf357.96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.