Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18839
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Surasak Taneepanichskul | - |
dc.contributor.advisor | Nipunporn Voramongkol | - |
dc.contributor.advisor | Vorapong Phupong | - |
dc.contributor.author | Jutamart Kupratakul | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-28T14:06:58Z | - |
dc.date.available | 2012-03-28T14:06:58Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18839 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D)--Chulalongkorn Unversirty, 2009 | en |
dc.description.abstract | This study aimed to investigate whether a knowledge sharing practices with empowerment strategies (KSPES) program on antenatal education and postnatal support strategies improves the rate of exclusive breastfeeding during the first six months after delivery compared with a standard knowledge of breastfeeding techniques. The study using a randomized controlled trial was conducted. Pregnant women of more than 32 weeks’ gestation were randomly assigned to receive a routine standard knowledge of breastfeeding techniques with KSPES on antenatal education and postnatal support strategies (study group) or to receive only a routine standard knowledge of breastfeeding techniques (control group) with 40 pregnant women in each group. Intra-group comparison of continuous variables was carried out using paired t-test and unpaired t-test for inter-group comparison. Compare the duration and rates of exclusive breastfeeding practices between the control group and the study group, by running the test on various groups, and calculated by Chi-square test. The relationship of factors that were associated with exclusive breast feeding was determined using the multivariate logistic regression analysis. The primary outcome was the rate of exclusive breastfeeding at 6 months after delivery. The secondary outcomes were the rates of exclusive breastfeeding at 7days, 14 days, 1, 2, 3, 4 and 5 months after delivery. The result showed that the rates of exclusive breastfeeding in the study group were significantly higher when compared with those in the control group at 14 days (82.5% vs 52.6%, P=0.005), 1 month (77.5% vs 52.6%, P=0.021), 2 months (62.5% vs 36.8%, P=0.023), 4 months (35.0% vs 7.9%, P=0.008), 5 months (25.0% vs 2.6%, P=0.012) and 6 months after delivery (20.0% vs 0%, P=0.005). And the mean scores of knowledge about breastfeeding, attitude toward breastfeeding and self-efficacy for self-management toward breastfeeding after intervention were higher than those before intervention in the study group (P<0.001). Also those of them after intervention in the study group were higher than those in the control group (P<0.001).The factors that effect on exclusive breast feeding were infants’ birth weight, attitude toward breastfeeding and mode of delivery. Increasing the infants’ birth weight and increasing the attitude toward breastfeeding were positively effect on exclusive breastfeeding while cesarean section was negatively effect on exclusive breast feeding. Conclusion: KSPES on antenatal education and postnatal support strategies significantly improves the rates of exclusive breastfeeding during the first six months after delivery with statistical significant at .05 | en |
dc.description.abstractalternative | การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจในหญิงตั้งครรภ์และกลยุทธ์ในการติดตามช่วยเหลือการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาภายหลังคลอด ต่อการส่งเสริมอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว ตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรก เปรียบเทียบกับการได้รับความรู้ของการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา และการติดตามการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาภายหลังคลอดตามปกติ โดยศึกษาในหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ ซึ่งจัดแบ่งกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มเป็น 2 กลุ่มในจำนวนที่เท่ากันคือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 40 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจพร้อมความรู้ของการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาตามปกติและกลยุทธ์ในการติดตามช่วยเหลือการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาภายหลังคลอด 6 เดือน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับเพียงความรู้ของการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา และการติดตามการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาภายหลังคลอดตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจ ในการอบรมก่อนคลอดและกลยุทธ์ในการติดตามช่วยเหลือการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาภายหลังคลอด 6 เดือน ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแนวคิดและทฤษฎีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของ Gibson’s theory มาปรับใช้ในหญิงตั้งครรภ์ในการอบรมมารดาก่อนคลอดและการติดตามกระตุ้นพฤติกรรมเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอเพื่อส่งเสริมอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว ตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรก สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ paired t-test, unpaired t-test, Chi-square test และ multivariate logistic regression analysis ผลลัพธ์หลักคือ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว ตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรก ผลลัพธ์รองคือ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว ตลอดเวลาหลังคลอด 7, 14 สัปดาห์, 1, 2, 3, 4 และ 5 เดือนแรก ผลการวิจัยพบว่า อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว ตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรกในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ที่ 14 วันแรก (82.5% และ 52.6%, P=0.005), 1 เดือนแรก (77.5% และ 52.6%, P=0.021), 2 เดือนแรก (62.5% และ 36.8%, P=0.023), 4 เดือนแรก (35.0% และ 7.9%, P=0.008), 5 เดือนแรก (25.0% และ 2.6%, P=0.012) และ 6 เดือนแรกหลังคลอด (20.0% และ 0%, P=0.005) และคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติและการรับรู้สมรรถนะการจัดการตนเองในการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาในกลุ่มทดลอง ภายหลังการให้โปรแกรมสูงกว่าก่อนให้โปรแกรม และคะแนนเฉลี่ยดังกล่าวภายหลังให้โปรแกรมในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (P<0.001) เช่นกัน อีกทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่ออัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวคือ น้ำหนักแรกเกิด ทัศนคติ และชนิดของการคลอด ซึ่งดารเพิ่มของน้ำหนักแรกเกิดและทัศนคติมีผลในเชิงบวก และการคลอดชนิดผ่าตัดคลอด มีผลในเชิงลบต่ออัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรก ผลการวิจัยสรุปได้ว่าโปรแกรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจในการอบรมก่อนคลอดและกลยุทธ์ในการติดตามช่วยเหลือการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาภายหลังคลอด สามารถส่งเสริมอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว ตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en |
dc.format.extent | 6337432 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn Unversirty | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1870 | - |
dc.rights | Chulalongkorn Unversirty | en |
dc.subject | Breast feeding | en |
dc.title | A randomized controlled trail of knowledge sharing practice with empowerment strategies in pregnant women to improve exclusive breastfeeding during the first six months after delivery | en |
dc.title.alternative | การวิจัยเชิงทดลอง ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจในหญิงตั้งครรภ์ต่อการส่งเสริมอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวตลอดเวลาหลังคลอด 6 เดือนแรก | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | es |
dc.degree.level | Doctoral Degree | es |
dc.degree.discipline | Research for Health Development | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn Unversirty | en |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1870 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jutamart_Ku.pdf | 6.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.