Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรจน์ เศรษฐบุตร-
dc.contributor.authorกัลป์ หอพรสิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-07T05:12:31Z-
dc.date.available2012-07-07T05:12:31Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20545-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 Summary ศึกษาความสัมพันธ์ของหน้าต่างกับผู้ใช้งานในสำนักงาน โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ศึกษาถึงความต้องการปัจจัยต่างๆ จากหน้าต่างในสำนักงาน เพื่อหาความสำคัญของหน้าต่าง ส่วนที่ 2 ศึกษาถึงปัจจัยพื้นฐานต่างๆ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้งาน โดยอ้างอิงจากเกณฑ์ของ LEED NC IEQ credit 8.3 Daylight & View : Views for 90% seated spaced ที่กล่าวถึง การที่สำนักงานควรจะมีพื้นที่ทำงาน 90% ที่สามารถมีมุมมองเชื่อมต่อกับหน้าต่างได้ ในเกณฑ์ดังกล่าวไม่ได้มีการอ้างอิงถึงระยะที่มีประสิทธิผลต่อผู้ใช้งาน ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจในการศึกษาถึงเรื่องนี้ โดยใช้วิธีการวิจัยด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) จากการศึกษาหาแนวทางการออกแบบการเชื่อมโยงทางสายตาระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกจากหน้าต่างในสำนักงาน จากผลของการสอบถามโดยใช้แบบสอบถามในเรื่องของความต้องการปัจจัยต่างๆ จากหน้าต่างพบว่าปัจจัยที่สำคัญที่สุด 5 อย่างคือ การเชื่อมโยงทางสายตากับภายนอก การสร้างความโปร่งโล่งสบาย การสร้างความปลอดภัย การป้องกันแสงแยงตา การป้องกันเสียงรบกวนจากภายนอก ปัจจัยที่มีความสำคัญน้อยที่สุด 3 อันดับคือ รับแดด ความรู้สึกมีเกียรติ/อำนาจ/ได้รับสิทธิพิเศษ และการลดสมาธิในการทำงาน ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงปัจจัยความต้องการหน้าต่างที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต จากผลของการสอบถามโดยใช้แบบสอบถามในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานของผู้ใช้งาน และพฤติกรรมต่อการเชื่อมโยงทางสายตา ใช้การคำนวณหาความสัมพันธ์ด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบถดถอย (Regression analysis) โดยทุกพฤติกรรมได้ค่า R² ไม่ถึง 0.75 ซึ่งถือว่าไม่มีความสัมพันธ์ถึงเกณฑ์ แต่จากแนวโน้มของกราฟพบว่าความสัมพันธ์ที่มีค่า R² มากที่สุดคือ ระยะห่างระหว่างที่นั่งทำงานกับความพึงพอใจ (The satisfaction of working position) อันดับที่ 2 คือ ระยะห่างระหว่างที่นั่งทำงานกับความถี่ในการมองหน้าต่าง (The frequency of looking to window) อันดับที่ 3 คือ ระยะห่างระหว่างที่นั่งทำงานกับความสามารถในการรับรู้หน้าต่าง (The perception to window) อันดับสุดท้าย คือ ระยะห่างระหว่างที่นั่งทำงานกับความตั้งใจในการมองหน้าต่าง (The intention of looking to window) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของระยะที่นั่งทำงานกับการเชื่อมโยงทางสายตาได้อย่างมีแนวโน้มชัดเจนมากขึ้น ควรต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการออกแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ผู้ใช้งานต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo study the influence of windows on office workers, as a part of their working environment. The research is divided into two parts: 1) the need for office windows and 2) external factors which influence employee behavior and satisfaction (based on LEED NC IEQ credit 8.3 Daylight & View : Views for 90% seated spaced). According to LEED’s standards, ninety percent of seats in an office should face windows. However, the appropriate distance between windows and seats is not mentioned. Therefore, the researcher wrote a questionnaire to collect data on the issue. Concerning the relations between the environment in the office and the views from the windows, the five most important functions of the windows were: 1) To get visual contact with outside, 2) To provide spaciousness, 3) To provide building security, 4) To prevent negative impacts of natural light, and 5) To enable noise control. The three least important functions of windows were 1) To admit sunlight, 2) To have presigious, and 3) To distract concentration. Regressive Analysis was applied to determine the relationship between the office workers’ behavior and their distance from windows. All scores were less than 0.75R², which was not statistically significant. However, the highest score was the satisfaction of working position. Second and third came the frequency of looking out of the window and the perception to the window. Finally, the intention of looking to window got the lowest score. In conclusion, the research gave a clearer picture of how the employees’ distance from the windows affected their working environment. Further studies are needed in order to improve office design and constituent working environment.en
dc.format.extent4008247 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2100-
dc.subjectหน้าต่าง-
dc.subjectอาคารสำนักงาน-
dc.subjectการรับรู้ทางสายตา-
dc.subjectWindows-
dc.subjectOffice buildings-
dc.subjectVisual perception-
dc.titleแนวทางการออกแบบการเชื่อมโยงทางสายตาระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกจากหน้าต่างในสำนักงานen
dc.title.alternativeThe design guideline for visual connection between indoor and outdoor environment from window in officeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAtch.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2100-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gun_ho.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.